สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงปลาช่อนงูเห่า (Channa marulius Hamilton, 1822) ในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน
อาคม ชุ่มธิ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงปลาช่อนงูเห่า (Channa marulius Hamilton, 1822) ในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน
ชื่อเรื่อง (EN): Cage Culture of Cobra Snakehead (Channa marulius Hamilton, 1822) at Different Stocking Density
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อาคม ชุ่มธิ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Cobra snakehead, Channa marulius Hamilton, 1822, cage culture, stocking density, growth, cost and return
บทคัดย่อ: การเลี้ยงปลาช่อนงูเห่าในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกนั ด าเนินการที่สถานีประมงน ้าจืดจังหวัดล าปาง ระหว่างเดือนมิถุนายน 2550 ถึงเดือนพฤษภาคม 2551 โดยเลี้ยงปลาช่อนงูเห่าน ้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 66.48±1.42, 67.53±1.27 และ 67.38±0.62 กรัม และความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย 22.58±0.18, 22.77±0.60 และ 22.69±0.29 เซนติเมตร ด้วยอัตราความหนาแน่น 20, 30 และ 40 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร ในกระชังขนาด 22.51.5 เมตร ที่ระดับน ้าในกระชัง 1 เมตร ให้อาหารส าเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน ้าโปรตีนไม่น้อยกวา ่40 เปอร์เซ็นต์ วันละ 2 ครั้ง ในอัตรา 1 เปอร์เซ็นต์ของน ้าหนักตัวต่อวัน เป็ นเวลา 360วัน ผลการทดลองพบวา่ ปลาช่อนงูเห่ามีน ้าหนักสุดท้ายเฉลี่ย 273.65±34.58, 318.01±22.19 และ 291.56±7.05 กรัม ความยาวสุดท้ายเฉลี่ย 37.55±0.19, 38.59±0.88 และ 37.65±1.40 เซนติเมตร อัตราการเจริญเติบโตจ าเพาะเฉลี่ย 0.39±0.04, 0.43±0.02 และ 0.41±0.01 เปอร์เซ็นต์ต่อวัน อัตราแลกเนื้อเฉลี่ย 2.75±0.31, 2.35±0.24 และ 2.52±0.03และอัตราการรอดตายเฉลี่ย 95.33±0.33, 96.00±1.01 และ 96.67±1.01 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ซึ่งมีความแตกต่างกนัอยาง่ ไม่มีนัยส าคัญทางสถิติระหวางอัตราความหนาแน ่ ่นทั้ง 3 ระดับ (p>0.05) เมื่อพิจารณาอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและผลตอบแทนต่อการลงทุนจากการทดลองครั้งนี้ สรุปได้วา อัตราความ ่หนาแน่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาช่อนงูเห่าในกระชังจากการทดลองครั้งนี้ คือ 40 ตัวต่อลูกบาศกเมตร
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: http://www.inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=81
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงปลาช่อนงูเห่า (Channa marulius Hamilton, 1822) ในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน
อาคม ชุ่มธิ
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
การเลี้ยงลูกปลาช่อนด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน การเลี้ยงปลาเทโพในกระชังที่ความหนาแน่นแตกต่างกันในบึงบอระเพ็ด การเลี้ยงปลาเสือพ่นน้ำในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน การเลี้ยงปลาชะโอนในกระชังที่ความหนาแน่นแตกต่างกัน 2 ช่วงอายุ การเลี้ยงปลากดเหลืองในกระชังที่มีระดับความลึกของกระชังและความหนาแน่นแตกต่างกัน การเลี้ยงปลาหมอในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน การอนุบาลปลาช่อนในกระชังในพื้นที่ดินพรุ การเลี้ยงปลานิลในกระชังด้วยระบบ LVHD (การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นสูง) เปรียบเทียบลักษณะเชิงเพาะเลี้ยงของปลาช่อนจาก 3 แหล่งเพาะเลี้ยง การเพาะพันธุ์ปลาช่อนงูเห่า

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก