สืบค้นงานวิจัย
รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มทอผ้าไหม ตำบลกุดรัง อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
สุนทรียา ไชยปัญหา - มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง: รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มทอผ้าไหม ตำบลกุดรัง อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง (EN): The Model of the Kut Rang Sub-District Silk Weaving Group to strengthen, Kut Rang District, Maha Sarakham Province.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุนทรียา ไชยปัญหา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาวิจัข เรื่อง รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มทอผ้าไหมตำบลกุครัง อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความ เข้มแข็งกลุ่มทอผ้าไหมตำบลกุครัง อำเภอกุครัง จังหวัดมหาสารคาม โดยกำหนดระยะเวลา คือ 1 ตุลาคม 2553-30 กันยาขน 2554 กรอบแนวคิดของการวิจัย ได้แก่ บริบทชุมชนตำบลกุครัง ศักยภาพ ค้านการบริหารจัดการ แนวทางเพิ่มศักยภาพค้านการบริหารจัดการ แนวทางความร่วมมือของกลุ่มทอ ผ้าไหม และปัจจัยที่ทำให้กลุ่มทอผ้าไหมสามารถพัฒนาแนวทางการเพิ่มศักขภาพและความร่วมมือ แหล่งข้อมูลประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มทอผ้ไหมในตำบลกุครัง กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ผู้นำ ชุมชน ผู้ทรงภูมิปัญญาในท้องถิ่น พระสงฆ์ ตัวแทนครู ตัวแทนชาวบ้าน นักวิชาการจากหน่วยงาน สนับสนุน และนักวิชาการจากสถาบันการศึกษา รวมจำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัขแบบมีส่วนร่วม(PAR : Participatory Action Research) ในพื้นที่ศึกษาโดขมีคณะผู้วิจัย และประชากรเป้าหมาย เข้ามามีส่วนร่วมในการศึกษา ดำเนินการและติดตามประเมินผล สำหรับการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แล้วนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการเสริมสร้างความข้มแข็งกลุ่มทอผ้าไหม ตำบลกุดรัง อำเภอ กุดรัง จังหวัดมหาสารคาม ดังนี้ 1. สมาชิก การดำรงอยู่ของกลุ่มทอผ้าไหมกุดรังจึงขึ้นอยู่กับสมาชิกเป็นสำคัญดังนั้น (1) สมาชิกจะต้องเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง (2) สมาชิกจะต้องมีวินัยต่อตนเองทั้งในการออมเงินและ การจ่าย (3) ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต (4) ต้องคัดเลือกบุคคลที่มีทักษะ ความรู้ ความสามารถและความชำนาญเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ (3) ต้องปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริด (6) ดูแลและใช้สินทรัพย์ต่างๆ ของกลุ่มทอผ้าไหมกุครังอย่างเหมาะสม คุ้มค่ และเกิด ประโยชน์ต่อสมาชิก 2. คณะกรรมการดำเนินการกลุ่มทอผ้าไหมกุรัง จะต้อง (1) มีความรับผิดชอบในการ บริหารจัดการและคำเนินการ (2) ต้องปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่เชื่อถือศรัทธา แก่สมาชิก (3) มีระบบการกาบคุมภายในที่ดีและเพียงพอต่อการปฏิบัติงานค้านต่ง ๆ (1) รู้จักใช้ ข้อมูลทางบัญชีในการบริหารงานเพื่อช่วยในการตัดสินใจ (3) หมั่นศึกษาหาดวามรู้เพิ่มเดิม เพื่อให้การ บริหารงานมีประสิทธิภาพ
บทคัดย่อ (EN): This research was aimed to study and to develop the strengthen management model of Kud Rang Silk Weaving group, Kud Rang district, Maha Sarakham Province. This research was holding during October, 1, 2011 to September, 30, 2013. The conceptual framework was consists of the community context of Kud Rang district, the management capabilities, the improve management practices, the cooperation, the factors efiect to enhance and develop the cooperation. Data sources including the members of Kud Rang Silk Weaving group, the folk wisdom, the community leaders, the local expert, the Buddhist monk, the teacher, the village agent, the academician from supporter organization, the academician from the educational organization; total of 45 persons. The research instrument was the PAR (Participatory Action Research) by the researchers and the target population had a participatory study; operation, monitoring and evaluation. The data was analyzed by the Content Analysis, and then it was presented by description. The research results were found as follows; The strengthen management model of Kud Rang silk weaving group, Kud Rang district, Maha Sarakham Province was following; 1. The member; the existence of Kud Rang silk weaving group was depends on members importantly thus the members (1) must understand their own role, (2) must have a self- disciplined in saving money and paying, (3) must using the sufliciency economy philosophy for lifeม (4) must select the operation committee who were full of skills, knowledge, ability and professional, (5) working with integrity and honest, (6) maintain the assets by appropriate, worthwhile, valuable for members. 2. The committee of the Kud Rang silk weaving group are required (1) had a responsible for management and operation, (2) must work with transparency, faith and trust among members, (3) set the system of internal controls and adequate for operational aspects, (4) using the accounting information for decision making, (5) regularly leamn more to make management efficiency.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มทอผ้าไหม ตำบลกุดรัง อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
30 กันยายน 2554
เปรียบเทียบคุณลักษณะพันธุ์ไหมลูกผสมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม เปรียบเทียบคุณลักษณะเส้นไหมลูกผสมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง อัตราพันธุกรรมบางคุณลักษณะของไหมลูกผสม ชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง ยุทธศาสตร์การพัฒนาเครือข่ายองค์กรชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าชุมชนจังหวัดมหาสารคาม รูปแบบการพัฒนาชุมชนด้านเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาบ้านหนองหว้า อ.บรบือ จ.มหาสารคาม รูปแบบการพัฒนาชุมชนอยู่ดีมีสุข : กรณีศึกษาบ้านดอนดู่ใหญ่ อ.บรบือ จ.มหาสารคาม การศึกษาภูมิปัญญาการย้อมสีผ้าพื้นบ้านด้วยวัตถุดิบธรรมชาติของกลุ่มสตรีทอผ้าย้อมสีธรรมชาติตำบลกองแขกอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิธีการจัดการแปลงหม่อนเลี้ยงไหม และการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงต้นหม่อนที่มีผลต่อการเลี้ยงไหม วิธีการจัดการแปลงหม่อนเลี้ยงไหมและการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงต้นหม่อนที่มีผลต่อการเลี้ยงไหม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก