สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์จากดอกอัญชัน
ฐิติพรรณ ฉิมสุข - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์จากดอกอัญชัน
ชื่อเรื่อง (EN): Development of potential products from Clitoria ternatea Linn
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ฐิติพรรณ ฉิมสุข
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: นริศรา ไล้เลิศ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สารสกัดจากดอกอัญชันเตรียมได้จากเทคนิคการแช่หมัก เทคนิคไมโครเวฟร่วมกับตัวทำละลาย และเทคนิคการทำแห้งด้วยวิธีออสโมซิส นำสารสกัดศึกษาร้อยละการสกัด ฤทธิ์ทางชีวภาพที่ประกอบด้วยฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟี นอลิกรวม สารสกัดดอกอัญชันที่เตรียมได้จากสภาวะที่เหมาะสมที่ให้ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟี นอลิกรวมสูงที่สุด จะนำมาใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับตั้งตำรับเซรั่มบำรุงผิวหน้า ครีมบำรุงผิวหน้า การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และทดสอบความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
บทคัดย่อ (EN): The butterfly pea extracts were performed using maceration, microwave assisted extraction with solvent and osmotic dehydration. The extracts were determined the percentage yield and biological activities including antioxidant activity, total phenolic contents. The butterfly pea extract obtained from optimized condition for preparing the butterfly pea extract which had the highest biological activities was used as the ingredient for formulating the face serum, face cream and packaging development, supplementary product development and evaluated the acute oral toxicity of supplementary product.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-62-01-001.1
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2562
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์จากดอกอัญชัน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2562
ศึกษาการสะสมธาตุไนโตรเจนและแอนโทไซยานินในอัญชัน 8 สายพันธุ์ การสร้างมูลค่าเพิ่มจากดอกอัญชัน การศึกษาการเจริญเติบโตและการให้ดอกของไม้ดอกข้ามปี วิจัยผลิตภัณฑ์จากข้าวไร่ การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสารสกัดจากดอกอัญชันสำหรับการย้อมสีถุงหุ้มเลนส์ตาส่วนหน้าในการผ่าตัดต้อกระจก การศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอธิลีนจากดอกปทุมมา (Curcuma spp.) ในสภาวะการเสื่อมสภาพของดอก การปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกสกุลผีเสื้อ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ดอกของประเทศไทย การพัฒนาฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์จากลำไย ผลของ Paclobutrazol ต่อการออกดอกและติดผลของสำรอง ผลของความสั้น-ยาวของวันต่อการให้ดอกของปทุมมา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก