สืบค้นงานวิจัย
การควบคุมโรครากขาวของยางพาราโดยชีววิธีและการคัดเลือกสายพันธุ์ยางต้านทานโรคเพื่อผลิตต้นตอพันธุ์
เสมอใจ ชื่นจิตต์, วสันณ์ เพชรรัตน์ - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่อเรื่อง: การควบคุมโรครากขาวของยางพาราโดยชีววิธีและการคัดเลือกสายพันธุ์ยางต้านทานโรคเพื่อผลิตต้นตอพันธุ์
ชื่อเรื่อง (EN): Biocontrol of White Root Rot in Rubber Tree and Selection of Root stock for Disease Resistance
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาครั Aงนี Aมีวัตถุประสงค์เพืIอคัดเลือกจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ทีIมีประสิทธิภาพใน การยับยั Aงโรครากขาวของยางพารา และเพืIอคัดเลือกยางพาราพันธุ์ดั AงเดิมทีIสามารถต้านทานต่อ โรครากขาวได้ โดยแยกเชื Aอ Rigidoporus microporus สาเหตุโรครากขาวจากตัวอย่างดอกเห็ด และรากยางทีIเป็ นโรคได้เชื Aอ R. microporus จํานวน 7 ไอโซเลท นํามาทดสอบความสามารถใน การก่อโรคในยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และพันธุ์ดั Aงเดิม พบว่า R. microporus ไอโซเลททีI 2 สามารถก่อโรคในยางพาราทั Aงสองสายพันธุ์ได้รุนแรงทีIสุด โดยมีดัชนีการเกิดโรคเท่ากับ 54.17 และ 45.84 นําเชื Aอ R. microporus ไอโซเลททีI 2 มาศึกษาวิธีการปลูกเชื AอทีIช่วยส่งเสริมให้เกิดโรค รากขาวได้เร็วและรุนแรงขึ Aน พบว่าการปลูกเชื Aอโดยใช้ก้อนเชื Aอเห็ดทั Aงก้อน ปลูกในดินทีIผสมมูลวัว สามรถส่งเสริมให้เชื Aอก่อโรคได้เร็วและรุนแรงทีIสุดทั Aงในยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และพันธุ์ดั Aงเดิม แยกเชื Aอจุลินทรีย์จากตัวอย่างดินในแปลงปลูกยางพาราจํานวน 64 ตัวอย่าง ด้วย วิธี dilution spread plate ได้เชื Aอ Streptomyces spp. จํานวน 263 ไอโซเลท เชื Aอรา 169 ไอโซเลท และแบคทีเรีย 62 ไอโซเลท นํามาทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั Aงเชื Aอ R. microporus โดยวิธี dual culture plate พบว่าเชื Aอ Streptomyces sp. S10 เชื Aอ Trichoderma spp. T112 ,T132 และ T142 สามารถยับยั Aงการเจริญของเชื Aอโรคได้ดีทีIสุด โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั Aงเท่ากับ 87.14, 88.57, 90.48 และ 92.38 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ จากนั Aนนําจุลินทรีย์ทั Aง 4 ไอโซเลท (S10, T112, T132 และ T142)มาศึกษาการเจริญของเชื Aอจุลินทรีย์ปฏิปักษ์บนธัญพืชชนิดต่างๆ เพืIอใช้ในการ เพิIมจํานวนประชากร พบว่า เชื Aอ Streptomyces sp. S10 สามารถเจริญได้ดีในข้าวฟ่ าง รํา และ เชื Aอรา Trichoderma sp. T112 สามารถเจริญได้ดีในรํา และเชื Aอรา Trichoderma sp. T132 และ T142 สามารถเจริญได้ดีในข้าวฟ่ าง และเมืIอทดสอบประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ทั Aง 4 ชนิด ในการ ยับยั Aง R. microporus ในดินในหลอดทดลอง พบว่า เชื Aอ R. microporus เจริญได้น้อยมาก ใน ดินทีIผสมเชื Aอ T142 ทีIเลี Aยงในข้างฟ่ าง โดยมีเปอร์เซ็นต์การเจริญเท่ากับ 1.85 เปอร์เซ็นต์ นํา Trichoderma sp. T142 มาจําแนกชนิดทางชีวโมเลกุล โดยใช้ partial 18S rRNA sequence analysis พบว่าเชื Aอรา Trichoderma sp. T142 ตรงกับ accession number KC898194.1 ซึIง จําแนกชนิดได้เป็ น T. asperellum T142 (7) การทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรครากขาวของยางพาราสายพันธุ์ RRIM 600 และ พันธุ์ดั Aงเดิมในเรือนทดลอง โดยใช้ T. asperellumT142 พบว่าสามารถยับยั Aงการเกิดโรครากขาว ในกล้ายาพาราทั Aงสองสายพันธุ์ได้ดีไม่แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ เมืIอเทียบกับการใช้สาร กําจัดเชื Aอราคาร์บอกซิน ส่วนการทดสอบความต้านทานต่อโรครากขาวของยางพาราสายพันธุ์ ดั Aงเดิมจาก 15 แหล่งนั Aน พบว่ายางพันธุ์ดั Aงเดิมจากทุกแหล่งมีดัชนีการเกิดโรคไม่แตกต่างกันทางสถิติ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การควบคุมโรครากขาวของยางพาราโดยชีววิธีและการคัดเลือกสายพันธุ์ยางต้านทานโรคเพื่อผลิตต้นตอพันธุ์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
30 กันยายน 2555
การคัดเลือก และการขยายพันธุ์ต้นตอยางพาราที่ต้านทานโรครากขาว และการควบคุมโรคโดยชีววิธี การคัดเลือกสายพันธุ์ยางพาราที่ต้านทานโรครากขาว (Rigidoporus lignosus) เพื่อใช้เป็นต้นตอ การเปรียบเทียบการผลิตและการตลาดยางพาราระหว่างจังหวัดขอนแก่นกับจังหวัดหนองคาย ปี 2549 กลุ่มวิจัยยางพารา การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้นของสายพันธุ์ยางจากบราซิล BZ-CH-35/1/2 การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความต้านทานต่อเชื้อราที่ก่อให้เกิดโรครากขาวในยางพารา การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การรวบรวมและศึกษาแหล่งเกิดโรครากขาวของยางพาราในเขตปลูกยางภาคใต้

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก