สืบค้นงานวิจัย
การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารตามเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศภูพญาพ่อ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน จังหวัดอุตรดิตถ์
รัชนี เพ็ชร์ช้าง - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ชื่อเรื่อง: การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารตามเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศภูพญาพ่อ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน จังหวัดอุตรดิตถ์
ชื่อเรื่อง (EN): Utilizing of Edible Herbs Biological Diversity along the Ecological Tourism Route of Phuphayapho Lumnumnan National Park Uttaradit Province.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รัชนี เพ็ชร์ช้าง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ฉัตรนภา พรหมมา
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1)เพื่อศึกษาบริบทชุมชน และศักยภ าพของชุมชนที่เกี่ยวข้องในการ จัดการท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน 2) เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรที่ ใช้เป็นอาหาร กล้วยไม้และปลา ตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อุทยานแห่งชาติลำน้ำนำน 3) เพื่อ ศึกษารูปแบบการจัดการท่ องเที่ยวอุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน โดยความร่วมมือขององค์กร์ท้องถิ่นและ ชุมชน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมซึ่งประกอบด้วย การจัดเวทีประชาคมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชุมกลุ่มย่อยและสนทนาแ เปนเจาะลึก เพื่อให้ได้ข้อมูล บริบทชุมชน สังคม วัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยผู้ให้ข้อมูลแบ่ งได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 คณะกรรมการ กลุ่มท่องเที่ยวในห้องถิ่น กลุ่มที่ 2 หน่วยงานของรัฐ และกลุ่มที่ 3 กลุ่มแม่น้ำน นอกจากนี้ยังใช้การวิจัยเชิง สำรวจโดยเก็บตัวอย่างความหลากหลายทางชีวภาพของที่ชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหาร กล้วยไม้ และปลา ตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอุทยานแห่งชาติลำน้ำนาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ บริบทชุมชน ด้านสังคม วัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ พบว่อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน ประกาศเป็นอุทยานลำดับที่ 87 เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2541 ลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นภูเขาสูงชัน ลาดลงสู่อ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์ ทำให้มีผืนปาที่อุดมสมบูร ณ์ ทำให้มีความหลากหลายของพืชสมุนไพร รวม 27 วงศ์ 35 สกุล 38 ชนิด กล้วยไม้ รวม 2 วงศ์ย่อย 15 สกุล 36 ชนิดและปลา 10 วงศ์ 18 ชนิด หมู่บ้านน้ำรึ เป็นหมู่บ้านที่มีวัฒนธ รรมเหมือนคนเหนือทั่วไปเนื่องจากอพยพมาจากหมู่บ้านในเขตอำเภอ สูงเม่นและอำเกอเมืองจังหวัดแพร่ เพื่อทำไร เลี้ยงสัตว์และทำนา หลังจากประสพอุทกภัยมีหน่วยราชการ มาช่วยเหลือหมู่บ้นเป็นจำนวนมากและเกิดโดรงการท่องเที่ยวโฮมสเตย์บ้านน้ำรีขึ้น ส่วนหมู่บ้านห้วย เจริญเป็นหมู่บั่นเกิดใหม่เนื่องจากอพยพมาจากหมู่บ้านในอำเกอท่ปลาเดิมที่ได้รับผลกระทบจากการ สร้างเชื่อนสิริกติ์ใน ปี 2511 และมาจากต่างจังหวัดที่มารับจ้งสร้างเขื่อน โดยส่วนหนึ่งจะอาศัยอยู่ในแพ มีอาชีพประมง เก็บของปา และรับนัก ท่องเที่ยวอยู่แล้ว แต่ยังไม่ประสพความสำเร็จเท่าที่ควรรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน พบว่าควรจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวตาม แนววิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนนั้นๆ โตยเนั้นการอนุรักษ์ธรมชาติ เช่น มีกิจกรรมปลูกต้นไม้เป็นที่ ระลึก เน้นกิจกรรมที่หลากหลายให้เหมาะสมกับความต้องการและวัยของนักท่องเที่ยวและได้เส้นทางท่อง เที่ยวที่เอื้อประโยชน์ทั้งสองหมู่บ้านใน 2 เส้นทาง ทั้งแบบไปกลับหรือแบบ 2 วันพัก 1 คืน รวมทั้งเกิดแหล่ง เรียนรู้ 3 แหล่งในเรื่องความหลากหลายของปลา กล้วยไม้และสมุนไพรร่วมทั้งจัดท่องเที่ยวนำร่อง 1 ครั้ง
บทคัดย่อ (EN): This research aimed to study: 1) the geography, society, culture and natural resource context and the potentiality for tourism management of Lumnamnan National Park 2) the biodiversity of edible herbs, orchids and fishes along eco-tourism route of Lumnamnan National Park and 3) the cooperative model between local organizations and communities in tourism management of Lumnamnan National Park, Uttaradit. This qualitative research, a participatory action research applied a number of different items to collect data including interviewing, observation, focus group discussion, and documentary analysis. The data were, then checked and descriptively analyzed. The researchers were the traveling agents relating to rafting and tourism activities, the government officials at the district and sub-district levels, and concerned people in the communities. This research has studied biodiversity of edible herbs, orchids and fishes along eco-tourism route of Lumnamnan National Park. The results of the research were as follows: The community contexts about geography, social, culture and natural resource supporting tourism management of Lumnamnan National Park were ;The area was covered with beautiful mountains, waterfalls connecting to the Sirikit reservoir. There were abundance of natural resources in the area, consisting of the diversity of about 27 families,35 genera and 38 species of edible herbs, 2 subfamilies, 15 genera and 36 species of orchids and about 10 families and 18 species of fishes. After the inundation and mud collapsing, government officers came to help Ban Num-Lee village and the Ban Num-Lee home-stay project was born, but still unsuccessful as expected. Ban Hauy-Charoen village thrived in this area was a new born village in Tha-Pla District, as the effect of the construction ofSirikit Dam in 1968. Their occupations were fishing, picking forest products, and home-staying business , but still unsuccessful as expected. The model of tourism management appropriate for environmental conservation within Lumnamnan National Park should be developed. The tourism activity should follow way of life style and culture of each community. The activities should emphasize on nature of conservation such as the activities of growing trees for memorials, growing wild orchids using seed cultivating and growing edible herbs in gardens. Also, they emphasized various activities which were appropriated to the requirements, such as ages of tourists and their interests, adventurous, or health. The related organizations should hold short training courses and additional activities according to the tourists’ interests. The training courses should be done to potential develop villagers. The concerned organizations disseminated this eco-tourism site and arranged a pilot eco-tour for Thai and foreign tourists. The satisfaction rate was very high.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารตามเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศภูพญาพ่อ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน จังหวัดอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
30 กันยายน 2551
การศึกษาความหลากหลายและโครงสร้างของสังคมพืชบริเวณพื้นที่เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน น้ำสมุนไพรดื่มดีมีประโยชน์ การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในการควบคุมโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ในปลาที่มีศักยภาพในการเลี้ยง ความหลากหลายของพืชสมุนไพรที่เป็นประโยชน์ทางยาในพื้นที่อุทยานแห่งชาติพุเตย จังหวัดสุพรรณบุรี การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูลังกา จังหวัดนครพนม เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาด้านการใช้ประโยชน์ จากพืชสมุนไพร เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ในอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน บริเวณพื้นที่วนเกษตร ต. แม่พูล อ. ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าผลผลิตจากพืชสมุนไพรท้องถิ่น ในพื้นที่สะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก