สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาจำนวนครั้งในการผสมของผีเสื้อตัวผู้ซึ่งมีผลให้ไข่ไหมที่ได้รับการผสมสูงสุด
ภุชงค์ เพชรมนต์ - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: ศึกษาจำนวนครั้งในการผสมของผีเสื้อตัวผู้ซึ่งมีผลให้ไข่ไหมที่ได้รับการผสมสูงสุด
ชื่อเรื่อง (EN): "Study on Coupulating Frequency of Male Silkworm Moths Refer to High Fertilized Eggs"
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภุชงค์ เพชรมนต์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การผสมพันธุ์ของผีเสื้อไหม เพื่อผลิตไข่ไหมลูกผสมต่างประเทศ ในบางครั้งจำเป็นต้องใช้ตัวผู้ผสมหลายครั้ง ซึ่งมีผลให้ประสิทธิภาพในการผสมของผีเสื้อตัวผู้ลดต่ำลงเรื่อยๆ เปอร์เซนต์ไข่ไหมไม่ได้รับการผสมจะเพิ่มมากขึ้น จึงทำการทดลองเพื่อหาจำนวนครั้งที่พอเหมาะ...
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2528
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2529
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2529-42.pdf
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาจำนวนครั้งในการผสมของผีเสื้อตัวผู้ซึ่งมีผลให้ไข่ไหมที่ได้รับการผสมสูงสุด
กรมหม่อนไหม
2529
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมหม่อนไหม
ความแตกต่างของสภาพแวดล้อมที่เก็บผีเสื้อตัวผู้ก่อนการจับคู่ผสม ซึ่งมีผลต่อไข่ไหมที่ไม่ได้รับการผสม (2) ความสัมพันธ์ของช่วงเวลาการเก็บไข่ไหมพันธุ์ลูกผสม ระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศหลังจากแม่ผีเสื้อวางไข่เสร็จกับจำนวนวันที่เก็บไข่ไหมในตู้เย็นซึ่งทำให้เปอร์เซนต์การฟักออกของไข่ไหมสูงสุด ศึกษาการเจริญเติบโตของไข่ไหมพันธุ์ K1xK13 และ KT2xKT1 โดยวิธีการไม่ผ่านการผสมพันธุ์ การศึกษาการให้หม่อนและจำนวนครั้งที่เลี้ยงต่างกันต่อจำนวนไข่ไหมที่วางต่อแม่ ศึกษาการเป็นหมันของผีเสื้อตัวผู้อันเป็นผลมาจากอุณหภูมิสูง ความสัมพันธ์ของช่วงเวลาการเก็บไข่ไหมที่ 25 °C และ 5 °C ของไข่ไหมชนิด Hibernate เปรียบเทียบผลของการผลิตไข่ไหมจากในสภาพที่สูง กับพื้นราบ การเลี้ยงไหมซึ่งได้จากไข่ไหมแบบฟักทันที โดยเปรียบเทียบการเลี้ยงจากไข่ไหมซึ่งใช้ระยะการจุ่มกรดที่ต่างกัน ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของดักแด้และค่าเฉลี่ยของจำนวนไข่ไหมต่อแม่ การวิจัยและพัฒนาการผลิตไข่ไหมอีรี่จำนวนมากเพื่อเกษตรกร
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก