สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้ผลิตข้าวคุณภาพสูงจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ปรีชา ศรีเรืองฤทธิ์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้ผลิตข้าวคุณภาพสูงจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ชื่อเรื่อง (EN): Potentiality development in network of premium rice producer in Phetchabun Province to Preparation for Asean Community.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปรีชา ศรีเรืองฤทธิ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จินตนา สนามชัยกุล
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาห่วงโซ่ข้าวคุณภาพสูงอย่างครบวงจร จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยกำหนตวัตถุประสงค์ย่อย คือ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต ข้าวคุณภาพสูงเพื่อขยายปริมาณการผลิต เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมการผลิตข้าวคุณภาพสูงของ เกษตรกรให้ด้รับการรับรองมาตรฐานข้าว เพื่อพัฒนองค์กรเกษตรกรและเครือข่ายข้าวจังหวัด เพชรบูรณ์ให้มีความเข้มแข็งบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวคุณภาพสูงโดย กระบวนการทางการตลาต กลุ่มเป้หมายในการวิจัยประกอบด้วย สมาชิกเครือข่ายเกษตรกรข้าว ใน อำเภอต่าง ๆ ในเขตเหนือของจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เหมาะแก่การผลิตข้าวคุณภาพสูง ได้แก่ อำเภอหล่มเก่า อำเภอหล่มสัก อำเภอเขาค้อ และอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 50 ฅน เก็บ ข้อมูลโดยการจัดประชุมสร้างความเข้าใจกับคณะผู้วิจัยชุมชนสมาชิกกลุ่มเป้าหมายให้มีความเข้าใจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ วางแผนการดำเนินการวิจัยร่วมกัน จัดเวที่ประชาคมเพื่อศึกษาสถานการณ์การ การเข้าสู่ระบบมาตรฐานข้าวของเกษตรกร เพื่อให้ทราบปัญหาที่ต้องวางแผนการแก้ไขต่อไป จัดประชุม ร่วมกับกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปผลการจัดเวทีประชาคม ร่วมกันวางแผนการ พัฒนาการปลูกข้าวคุณภาพสูง รวบรวมองค์ความรู้การสู่ระบบมาตรฐานข้าวคุณภาพสูงโดยรวบรวมจาก เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ค้นหาจากเว็บไซต์ต่าง ๆ และจัดอบรมโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการความรู้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตข้าวคุณภาพสูง คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีการ ทำนาอินทรีย์กันน้อย มีกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตข้าวอินทรีย์ในขณะนี้เพียง 15 กลุ่ม ยังมีเกษตรกรรายย่อยที่ ทำนาอินทรีย์นี้อย่างจริงจังอีกเพียง 2-3 ราย ในส่วนขององค์ความรู้พบว่ามีเอกสารเผยแพร่ความรู้เป็น จำนวนมาก ส่วนใหญ่อยู่ในแนวเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนภูมิปัญญาท้องถิ่นได้มีการศึกษาวิจัยพัฒนาการผลิต ข้าวอินทรีย์ตัวยตนเอง มีองค์ความรู้เกิดขึ้นมากมาย ส่วนใหญ่พยายามใช้วัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาตอมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ ซึ่งสามารถทตแทนการใช้สารเคมีและเป็นเคมีได้เป็นอย่างตี ทำให้ผลผลิตสูงขึ้น 2. แนวทางกรส่งเสริมการผลิตข้าวคุณภาพสูงของเกษตรกรให้ได้รับการรับรองมาตรฐานข้าว คือ การหาทางลดการใช้สารเคมี สร้างมาตรฐานและรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ในกลุ่มเฉพาะและ ขยายสู่สากล และสร้างเครือข่ายร่วมมือ 3. โครงสร้างเครือข่ายใหม่ ซึ่งไต้แก่พัฒนาในรูปของคณะกรรมการเครือข่ายข้าวคุณภาพสูง จังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบไปด้วยประธานทุกกลุ่มที่เข้าร่วมประชุมเป็นคณะกรรมการ มีผู้บริหารและ นักวิชาการของมหาวิทยาสัยราชภัฏเพชรบูรณ์เป็นที่ปรึกษา ซึ่งมีหน้าที่ขับเคลื่อนเครือข่ายข้าวคุณภาพสูง จังหวัด ร่วมกับสมาชิกสภาเกษตรกร 4. ในการพัฒนาศักยภาพการตลาดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่เครือช่ายเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ซึ่งมี ปัญหาจากการใช้สารเคมี และขาตความรู้เรื่องการตลาด ผลการวิจัยชี้ว่ควรมีการแปรรูปข้าวให้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นอื่น ! พัฒนาความรู้เรื่องการคำนวณต้นทุนให้แก่เกษตรกร พัฒนาช่องทางการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ทั้งในและต่งประเทศ ส่งสริมการจำหน่ายด้วยการโฆษณาประชาสัมพันธ์ และพัฒนาเครือข่าย ทั้งในและต่างประเทศ
บทคัดย่อ (EN): The main purpose of the research was to develop the complete chain of rice with high quality, with 4 sub-objectives: to study the model of knowledge management for appropriate technology for the production of high quality rice; to find out the ways for promoting the production of rice with high quality; to develop networking of the rice agriculturists; and to add value of rice with marketing mechanisms. The participants in the research consisted of 50 members of the rice agriculturist members in different districts of Phetchabun province. Data and information were collected through questionnaires, interview, and seminars. The results showed that: 1. The knowledge management for appropriate technology for the production of high quality rice indicated that Phetchabun had little amount of organic farming, only 15 groups with only 2-3 families that did real organic farming. Knowledge that was applied for organic farming was from document, the philosophy of Sufficiency Economy, and local wisdom. The ways to promote it was to use the natural materials in the certain locality, avoiding applying chemical substance for farming. 2. The ways for promoting the production of rice with high quality were to avoid using chemical substance for rice production, create standard and accreditation for rice products in the certain group and expanding to the broader range, and to create collaboration of the networks. 3. To develop networking of the rice agriculturists, new members and ne elements of the board were included to organize organic rice promotion, with the emphasis of the scholars and the administrators in the university. 4. To add value of rice with marketing mechanisms, rice agriculturists were suggested to avoid using pesticide and insecticide, to transform the rice into other products in needs, to learn how to calculate the costs of the products, to promote the rice products, and to develop the collaboration of the rice agriculturist networking.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้ผลิตข้าวคุณภาพสูงจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
30 กันยายน 2556
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การพัฒนาเชื้อราไตรโคเดอร์มาปฏิปักษ์ที่ช่วยเพิ่มผลผลิตและลดโรคข้าวเป็นชีวภัณฑ์เชิงพาณิชย์ การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตข้าวของชุมชน ตำบลเบิกไพร จังหวัดราชบุรี ผลของการใช้รังสีแกมมาต่อคุณภาพของข้าว การผลิต resistant starch จากแป้งข้าวด้วยวิธีการย่อยแป้งด้วยกรดร่วมกับการให้ความร้อนและความชื้น การพัฒนาระบบการผลิตผักสวนครัวอินทรีย์ด้วยปุ๋ยมูลไส้เดือนคุณภาพสูงในจังหวัดเพชรบูรณ์ การจัดตั้งนโยบายประมงร่วมอาเซียน การจัดตั้งนโยบายประมงร่วมอาเซียน สถานการณ์การผลิตและการจัดการผลผลิตข้าวนาปี ของเกษตรกรจังหวัดเพชรบูรณ์ การศึกษารอยเท้าน้ำของข้าวใน 3 จังหวัด ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก