สืบค้นงานวิจัย
ผลการใช้ใบยอผงเป็นสารเสริมในอาหารต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนมในโคนม
วัชณพงศ์ ยุพการณ์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลการใช้ใบยอผงเป็นสารเสริมในอาหารต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนมในโคนม
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of using Indian mulberry (Morinda citrifolia Linn.) as feed additives on feed intake and milk production in dairy cows
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วัชณพงศ์ ยุพการณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Watchanapong Yupakarn
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สมุนไพรมีความสามารถในการใช้เป็นสารทดแทนยาปฏิชีวนะในอาหารสัตว์ การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้ใบยอผงต่อปริมาณการกินได้และผลผลิตน้ำนมในโคนม โดยทำการศึกษาในโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ ฟรีเชี่ยนจำนวน 8 ตัว น้ำหนักตัวเฉลี่ย 454.75 ± 52.2 กิโลกรัม และมีวันให้นมเฉลี่ย 146 ± 41.15 วัน วางแผนการทดลอง 4x4 เรปพิเคเตดลาตินสแควร์ ในแต่ละช่วงของการทดลองใช้เวลา 21 วัน โดยโคทดลองได้รับอาหารสูตรรวมที่มีฟางข้าว เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก อาหารแต่ละสูตรมีระดับโปรตีน 15 % ในอาหารแต่ละสูตรจะใช้ระดับของใบยอผง 4 ระดับ ดังนี้ 0, 7.5, 10.0 และ 12.5 กรัมต่อกิโลกรัมสิ่งแห้ง ตามลำดับ และให้ได้รับน้ำดื่มเต็มที่ พบว่าการเสริมใบยอผงนั้นไม่มี ผลต่อการกินได้ ผลผลิตและองค์ประกอบของน้ำนม ส่วนการย่อยได้และผลผลิตที่ได้จากการหมักย่อยภายในกระเพาะ หมักนั้นจะได้มีการนำเสนอในครั้งต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Dry herbal plants were introduced to be used as animal feed additive in order to replace antibiotic medicines. The aim of this study was to determine the effects of using Indian mulberry as a feed additive on feed intake and milk production in dairy cows. Eight crossbred Holstein Friesian with average 454.75 ± 52.2 kg body weight and 146 ± 41.15 days in milk were used in the study. The experimental design was arranged in 4x4 Replicated Latin square design (21-d period). Animals were fed with total mixed ration (TMR) diet base on rice straw as roughage source. The dietary treatments were supplementation Indian mulberry at level 0, 7.5, 10.0 and 12.5 g/kgDM The results showed that there were no effects on DMI, milk yield and milk composition. Data regarding rumen fermentation will be subsequently reported.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=17O-ANI-058.pdf&id=846&keeptrack=13
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลการใช้ใบยอผงเป็นสารเสริมในอาหารต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนมในโคนม
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2556
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
พันธุกรรมกับอาหารโคนม การใช้ใบถั่วอาหารสัตว์ในอาหารลูกโคนม การใช้ใบกระถินเทพาเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารโคนม การสำรวจข้อมูลการเลี้ยงโคนมในจังหวัดเชียงใหม่ (ปัญหาการจัดการอาหารหยาบและความต้องการเครื่องจักรกลในฟาร์มโคนม) อิทธิพลของวิธีการสกัดไขมันกระบกในอาหารต่อปริมาณน้ำนม องค์ประกอบทางเคมีและกรดไขมันในน้ำนมของโคนม การใช้เปลือกเมล็ดถั่วเหลืองระดับสูงในสูตรอาหารโคนม ผลของการเสริมน้ำหมกัสมุนไพรต่อปริมาณการกินได้และการย่อยได้ ของโคเนื้อลูกผสมวากิว การใช้ใบมะละกอป่นในอาหารเลี้ยงปลานิลแดง (Oreochromis niloticus × O. mossambicus) ผลของการใช้มูลโคนมสดในอาหารห่านกำลังเจริญญเติบโต ผลของอ้อยอาหารสัตว์หมักที่มีอายุการตัดต่างกันเพื่อทดแทน ข้าวโพดหมักต่อการให้ผลผลิตของโคนม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก