สืบค้นงานวิจัย
ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่จุดจ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดสำหรับระบบให้น้ำลำไยแบบอัตโนมัติ
ปรีชา มหาไม้ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่จุดจ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดสำหรับระบบให้น้ำลำไยแบบอัตโนมัติ
ชื่อเรื่อง (EN): A solar powered battery charger with the maximum power point tracking to longan irrigation system
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปรีชา มหาไม้
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ได้ออกแบบสร้างชุดประจุแบตเตอรี่จากเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยวงจรแปลงผันกำลังไฟตรงเป็นไฟตรงชนิดเซปิกโดยใช้เทคนิคการประจุที่จุดจ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดสำหรับเป็นแหล่งพลังงานให้ระบบรดน้ำลำไยแบบอัตโนมัติวงจรแปลงผันกำลังออกแบบให้ทำงานในโหมดกระแสไฟฟ้าที่ไหลในตัวเหนี่ยวนำแบบต่อเนื่องการควบคุมพลังงานใช้หลักการการควบคุมความกว้างของพัลส์ด้วยชุดไมโครคอนโทรลเลอร์โดยพิกัดการออกแบบวงจรแปลงผันที่แรงดันประจุ 12.8 โวลต์ แบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์ 125 แอมแปร์ แผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบผลึกรวมขนาด 120 วัตต์โดยทดสอบการประจุตั้งแต่เวลา 8.00 – 17.00 น. จากการทดสอบพบว่าวงจรแปลงผันสามารถทำงานได้ตามพิกัดการออกแบบพลังงานที่ได้รับสูงสุดอยู่ในช่วงเวลา 11.00 – 14.00 น.ประสิทธิภาพการทำงานวงจรแปลงผันโดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 71
บทคัดย่อ (EN): This research was designed to create a set of battery charger from a solar panel with a SEPIC DC-DC converter by using maximum power point tracking technic for automatic longan irrigation. The converter was designed based on continuous current mode with pulse width modulate control. The systems specify, voltage charge 12.8 volt, 12 volts 125 amperes of battery, 120 watts of solar panel. Load testing 8.00 to 17.00 pm. The experimental result converter can work according to design and the highest energy rating in range 11.00 – 14.00 pm. The efficiency average is 71 percent.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่จุดจ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดสำหรับระบบให้น้ำลำไยแบบอัตโนมัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
30 กันยายน 2555
การพัฒนาระบบแสงสว่างในสวนยางพาราโดยใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชนด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์ ความถี่ อัตราและช่วงระยะเวลาการให้น้ำสำหรับอ้อยในเขตชลประทานภาคกลาง ระบบสมองกลฝังตัวสำหรับเครื่องกรีดยางพาราอัตโนมัติ โครงการวิจัยทดสอบและพัฒนาระบบการจัดการน้ำในสวนลำไย การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชน ด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ความดันต่ำสำหรับผลิตอาหารเพื่อเป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ การทดสอบระบบการผลิตลำไยแบบพุ่มเตี้ยในแปลงเกษตรกรจังหวัดเชียงราย การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงานทดแทนด้วยแสงอาทิตย์ เพื่อการแปรรูปอาหารทะเล

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก