สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยและเผยแพร่การเลี้ยงปลาดุกทะเลโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับการเสริมหัวกุ้งในบ่อของเกษตรกร กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
บัญญัติ ศิริธนาวงศ์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยและเผยแพร่การเลี้ยงปลาดุกทะเลโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับการเสริมหัวกุ้งในบ่อของเกษตรกร กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
ชื่อเรื่อง (EN): Research and Distibuted Project Use of Organic fertilizer and feed Shrimp Head to Growth of Sea Catfish Cuture Casestudy Fish Farmer of Tumbon Bangkhunzai Amphur Banleam Petchaburi Province
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: บัญญัติ ศิริธนาวงศ์
คำสำคัญ: ปลาดุกทะเล
บทคัดย่อ: การวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการจัดการทรัพยากรป่าชายเลน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนและ 3) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนของตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยได้แก่ ผู้ประกอบอาชีพทำการประมงพื้นบ้านกลุ่มผู้นำและประชาชนหมู่ที่ 1, 2, 3, 8 และ 10 ตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรีเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยการสัมภาษณ์ การศึกษาในพื้นที่ การใช้แบบสอบถามและการจัดเวทีประชาคม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ตำบลบางขุนไทรมีลักษณะพื้นที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง โดยการเก็บหอยแครง หอยเสียบ รอเคยไสเคยและทำอวนรุน การทำประมงจะทำภายในครอบครัวบริเวณชายฝั่งโดยทำในขณะน้ำลงต่ำ โดยมีอาชีพเก็บหอยแครงมากที่สุด 22.8% การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลนในภาพ รวมประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลนอยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ย = 3.55, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.36) โดยมีส่วนร่วมในการสละแรงงานมากที่สุด รองลงมาเป็นการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การวางแผนและการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตามลำดับ ในด้านความรู้พบว่าชุมชนมีความรู้ในการจัดการป่าชายเลนอยู่ในระดับปานกลาง ในด้านการสร้างเครือข่ายการจัดการป่าชายเลน ชุมชนบางขุนไทรได้จัดเวทีประชาคมและร่วมกันจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน นอกจาก นั้นได้จัดทำโครงการป่าชายเลนชุมชน โครงการท่องเที่ยวกับป่าชายเลนและได้ทำข้อตกลงกับหน่วยงานราชการในด้านการอนุรักษ์ป่าชายเลน
บทคัดย่อ (EN): This research and development was aimed at studying careered local fishery, studying participation in forest resource management, and development of the mangrove forest network at Bankhunzai, Ban leam, Phetchaburi. The studied samples were leaders local people and fishermen’s in community 1st 2nd 3rd 8th and 10th at Bankhunzai Subdistric Ban leam Distric Phetchaburi Province. The tools contained interviewing, surveying, questionnaires, and civil society forum for the local people. Data were collected and analyzed using Descriptive analysis and calculated to obtain percentage, means, and standard deviation. The results showed that there was high biodiversity at the area. Most people were fishermen’s, who did commercial collection of cockle, razor clam, krill fisheries and Push Nest. Twenty two point eight percent of local people collated the cockle clam. Local people had high participation in conservation of the mangrove forest (Average = 3.55, Standard deviation = 0.36) as laboring, giving opinions, planning, supporting for conducting tools. The people had knowle dge in the mangrove forest management at a middle level. The local people set the civil society forum and conservation group for the forest. In addition, they also set up the conservative mangrove forest group and cooperated with other organization to maintain the forest.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-01-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยและเผยแพร่การเลี้ยงปลาดุกทะเลโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับการเสริมหัวกุ้งในบ่อของเกษตรกร กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
31 ธันวาคม 2550
ชีววิทยาการเพาะขยายพันธุ์และอนุบาลลูกปลาดุกทะเล การศึกษาวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุอินทรีย์ที่ได้จากการตัดแต่งกิ่งไม้ ความต้องการการส่งเสริมการเลี้ยงปลานิลในกระชังของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดสุรินทร์ การทดลองเลี้ยงหอยสังข์กระโดด Strombus canarium ควบคู่กับการเลี้ยงกุ้งขาววานาไม การศึกษาการเลี้ยงปลานิลในบ่อดิน ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการอาหารปลอดภัย จังหวัดชัยภูมิ การพัฒนาคุณภาพแม่พันธุ์ปลาดุกทะเล (Plotosus canius)โดยการใช้มันกุ้งและหัวกุ้งทะเลจากวัสดุเหลือทิ้งในการแปรรูปกุ้งเป็นแหล่งกรดไขมันไม่อิ่มตัวในอาหาร การศึกษาสภาวะการทำประมงเครื่องมือประมงพื้นบ้าน ในพื้นที่อำเภอบ้านแหลมถึงอำเภอ ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus) ความต้องการการส่งเสริมอาชีพของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดในจังหวัดเพชรบุรี การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับปลาดุก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก