สืบค้นงานวิจัย
การใช้แบบจำลองทางระบาดวิทยา SEIRS ประเมินมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินสำหรับโรคไอเอ็มเอ็น
นางสาวณัฐกานต์ สาลีติด - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ
ชื่อเรื่อง: การใช้แบบจำลองทางระบาดวิทยา SEIRS ประเมินมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินสำหรับโรคไอเอ็มเอ็น
ชื่อเรื่อง (EN): Using the SEIRS epizootic simulations to evaluate emergency preparedness plans for IMN
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นางสาวณัฐกานต์ สาลีติด
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Nattakan Saleetid
ชุดเอกสาร: รายงานการประชุมวิชาการประมง ประจำปี 2562
บทคัดย่อ: โรคไอเอ็มเอ็น (Infectious myonecrosis หรือ IMN) เป็นโรคไวรัสในกุ้งกลุ่ม Penaeid shrimp ซึ่งเป็นสินค้าสัตว์น้ำ ส่งออกที่สำคัญของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันประเทศไทยยังมีสถานะปลอดจากโรคไอเอ็มเอ็น แต่ แผนรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินเป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากโรคนี้สามารถแพร่กระจายได้ทั่วไปผ่านการเคลื่อนที่ของกุ้งทะเล ในงานวิจัยฉบับนี้จึงใช้แบบจำลองทางระบาดวิทยา SEIRS เพื่อประเมินมาตรการเชิงรุกใช้รองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ส าหรับโรคไอเอ็มเอ็นบนพื้นฐานข้อมูลที่แท้จริงของการเคลื่อนที่ของกุ้งทะเลระหว่างฟาร์ม ผลการการจ ำลองพบว่าหากมีการ พักฟาร์มที่ติดเชื้อโรคไอเอ็มเอ็น เป็นระยะเวลา 0 วัน 14 วัน 30 วัน และ 60 วัน ขนาดของการระบาดของโรคไอเอ็มเอ็น มีแนวโน้มที่จะลดลงตามลำดับ ซึ่งภาครัฐสามารถใช้มาตรการพักฟาร์มในการทำแผนรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินที่ โรคไอเอ็มเอ็นแพร่กระจาย และใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนให้เกษตรกรเกิดความตระหนักและเล็งเห็นความส าคัญของการพักฟาร์ม
บทคัดย่อ (EN): Infectious myonecrosis (IMN) is an emerging epizootic disease of penaeid shrimp, major aquatic animal species for export of South-East Asia countries. Although, Thailand is now a country free for IMN, an emergency preparedness plan is important because live shrimp movements are the potential pathway for IMN transmitting. Therefore, based on the SEIRS epizootic simulations for IMN with realistic live shrimp movement network and fallowing period data, the uses of fallowing measures at 0, 14, 30 and 60 days in the IMN-infected farms cause the epidemic sizes or the number of possible infected farms decreased respectively. The Thai regulator can use the fallowing measures as the emergency preparedness plan for IMN. Also, the Thai regulator can use the results from the modeling as an evidence to encourage the Thai farmers to realize an importance of fallowing practices on farms.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
จำนวนหน้า: 10
เผยแพร่โดย: กลุ่มบริหารงานวิจัย กงแผนงาน กรมประมง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: ประมง หรือ สัตว์น้ำ
หมวดหมู่ AGRIS:
เจ้าของลิขสิทธิ์: นางสาวณัฐกานต์ สาลีติด
รายละเอียด: Submitted by นางสาวนุชนาฏ เสือจุ้ย กองวิจัยและสุขภาพสัตว์น้ำ กรมประมง (bumba5885@gmail.com) on 2020-06-19T02:54:21Z No. of bitstreams: 2 ประชุมวิชาการ ประจำปี2562.pdf: 3632439 bytes, checksum: edbd55cab65a40771b4b6328f5a057ad (MD5) การใช้แบบจาลองทางระบาดวิทยา SEIRS ประเมินมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินสำหรับโรค IMN.pdf: 752568 bytes, checksum: da40aa46001c27e01acbd59a3ca21cad (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้แบบจำลองทางระบาดวิทยา SEIRS ประเมินมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินสำหรับโรคไอเอ็มเอ็น
กลุ่มบริหารงานวิจัย กงแผนงาน กรมประมง
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
การเตือนภัยการระบาดล่วงหน้าของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยโดยใช้ปัจจัยด้านกีฏวิทยา ระบาดวิทยา และอุตุนิยมวิทยา โดยการวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูงและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การศึกษามูลเหตุวิทยาและระบาดวิทยาของโรคใบจุด ในต้นกล้ายางพารา พันธุ์ RRIM 600 การศึกษาด้านระบาดวิทยาระดับโมเลกุลของไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยที่ระบาดในประเทศไทยและระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2555 การศึกษาด้านระบาดวิทยาระดับโมเลกุลของไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยที่ระบาดในประเทศไทยและระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างปี พ.ศ.2553-2555 การสอบสวนการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยในประเทศไทย ปี 2558-2559 และความเป็นไปได้ของการสร้างต้นแบบพื้นที่ปลอดโรค หรือพื้นที่ควบคุมและป้องกันโรค การตอบสนองของข้อมูลสารสนเทศทางระบาดวิทยาต่อการดำเนินงานควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออกในชุมชน เขตสาธารณสุขที่ 4 การศึกษาระบาดวิทยา กลไกการก่อโรค และการเรียงตัวของจีโนมของไวรัสชนิดใหม่ที่แยกได้จากกุ้งกุลาดำที่โตช้า การประยุกต์ใช้สถานีโทรมาตรตรวจวัดการเคลื่อนตัวของลาดเขาร่วมกับแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการบริหารจัดการอุทกภัย ภัยแล้ง ดินถล่มและการใช้น้ำชลประทานอย่างมีประสิทธิภาพของลุ่มน้ำแม่งอน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ การวิเคราะห์เปรียบเทียบระบาดวิทยาของเชื้อสตาฟฟิโลคอคคัสก่อโรคบนผิวหนังสุนัข ผู้เลี้ยงสุนัข และสัตวแพทย์และมาตรการป้องกันการติดต่อจากสุนัขสู่คน : รายงานการวิจัย การพัฒนาวิธีการตรวจและการศึกษาระบาดวิทยาของเชื้อแบคทีเรีย NHP ในประเทศไทย
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก