สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาลักษณะทางการสืบพันธุ์ของปูม้าพันธุ์บ้านรุ่นที่ 1 ที่เลี้ยงในบ่อคอนกรีต
มนทกานติ ท้ามติ้น, วรรณเพ็ญ เกตุกล่ำ, สุภัทรา อุไรวรรณ์, ธนัญช์ สังกรธนกิจ, ภูวนัย ชัยศรี - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ศึกษาลักษณะทางการสืบพันธุ์ของปูม้าพันธุ์บ้านรุ่นที่ 1 ที่เลี้ยงในบ่อคอนกรีต
ชื่อเรื่อง (EN): Maturation Study on Blue Swimming Crab Culture in Concrete tank
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาข้อมูลการเจริญพันธุ์ของปูม้าที่เลี้ยงในบ่อคอนกรีต โดยรวบรวมพ่อแม่พันธุ์ปูม้า , 2 ตัว/ตารางเมตร รองพื้นทรายก้นบ่อหนา 5 ซม. เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า เมื่อเลี้ยงต่อเป็นเวลา 4 เดือน บ่อเพศเมีย เดือนที่ 1 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 4.70 ?0.53 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 100 % เดือนที่ 2 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 5.82 ?0.66 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 49.00 % เดือนที่ 3 Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) จากแหล่งน้ำธรรมชาติของจังหวัดเพชรบุรี เพื่อศึกษาข้อมูลการเจริญพันธุ์ของพ่อแม่พันธุ์ปูม้าที่เลี้ยงในบ่อคอนกรีต รวมทั้งประสิทธิภาพการผสมพันธุ์ ความดกไข่ อัตราการฟักไข่และจำนวนลูกปูระยะโซเอี้ย มาดำเนินการเพาะพันธุ์และอนุบาลในบ่อดินของศูนย์วิจัยและทดสอบพันธุ์สัตว์น้ำเพชรบุรี ระหว่างวันที่ 10 กพ. 51 – 12 เมย. 51 จน สามารถแยกเพศได้ อายุประมาณ 2 เดือน จึงนำไปเลี้ยงต่อในบ่อคอนกรีต ขนาด 25 ตัน จำนวน 12 บ่อ โดยเลี้ยงแบบแยกเพศ แบ่งเป็นเพศผู้ 4 บ่อ เพศเมีย 4 บ่อ และรวมเพศ 4 บ่อ อัตราส่วน 50 ตัว/ บ่อ คิดเป็น มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.16 ?0.63 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 35.50 % เดือนที่ 4 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.69 ?0.59 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 21.00 % บ่อเพศผู้ เดือนที่ 1 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 4.63 ?0.52 ซม. มีอัตรารอดตายเฉลี่ย 100 % เดือนที่ 2 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 5.67 ?0.60 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 47.50 % เดือนที่ 3 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.08 ?0.69 ซม. อัตรารอดตายตายเฉลี่ย 29.50 % เดือนที่ 4 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.60 ?0.61 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 17.50 % บ่อรวมเพศ เดือนที่ 1มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 4.64 ?0.48 ซม. มีอัตรารอดตายตายเฉลี่ย 100 % เดือนที่ 2 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.05 ?0.48 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 33.00 % เดือนที่ 3 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.33 ?0.532 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 21.50 % เดือนที่ 4 มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 6.81 ?0.84 ซม. อัตรารอดตายเฉลี่ย 13.00 % เมื่อทำการสุ่มจับคู่ผสมพันธุ์ พ่อแม่พันธุ์มีการพัฒนาระยะไข่ที่ไม่สมบูรณ์และไม่ฟักเป็นตัว และเนื่องจากปูม้าเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวและกินกันเองจึงทำให้จำนวนปูลดลงไปเรื่อยๆ คำสำคัญ : ปูม้า การเจริญพันธุ์ บ่อคอนกรีต
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาลักษณะทางการสืบพันธุ์ของปูม้าพันธุ์บ้านรุ่นที่ 1 ที่เลี้ยงในบ่อคอนกรีต
กรมประมง
30 กันยายน 2551
กรมประมง
การเพาะเลี้ยงปูม้าในบ่อดินแบบครบวงจร การเจริญเติบโตและการรอดตายของปูม้าพันธุ์บ้านรุ่นที่ 1 โดยวิธีการเลี้ยงแบบรวมเพศและแยกเพศในบ่อดิน การเลี้ยงแม่พันธุ์ปูทะเล Scylla paramamasain ด้วยอาหารต่างชนิดกันให้มีไข่นอกกระดองในบ่อคอนกรีตเพื่อการเพาะพันธุ์ ผลของการจำกัดแสงในช่วงระยะเจริญเติบโตที่มีต่อสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ของห่านพันธุ์จีน การประเมินทรัพยากรปูม้าและผลผลิตหลังการปล่อยพันธุ์ปูม้าในทะเลสาบสงขลา ผลของการเสริม Schizochytrium limacinum(D.Honda & Yokochi, 1998) 4 ระดับ ในการอนุบาลลูกปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) ผลของวิตามินซีต่อการเจริญเติบโต อัตรารอดตายและการลอกคราบของปูม้า (Portunus pelagicus, Linnaeus 1758) การผลิตหน่อพันธุ์สับปะรดพันธุ์เพชรบุรี การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี ความหลากหลายทางชีวภาพของปูบริเวณหมู่เกาะมัน จังหวัดระยอง

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก