สืบค้นงานวิจัย
การใช้ Bio-charcoal ในนาข้าวสำหรับจังหวัดราชบุรี
พงศ์ธร เพียรพิทักษ์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: การใช้ Bio-charcoal ในนาข้าวสำหรับจังหวัดราชบุรี
ชื่อเรื่อง (EN): Bio-charcoal is treated in paddy fields at Ratchaburi province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พงศ์ธร เพียรพิทักษ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ต้นแบบมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดราชบุรี ดำเนินการในพื้นที่ จ.ราชบุรี ระยะเวลาตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์-กันยายน 2557 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวชี้วัดพื้นฐานของเมืองเกษตรสีเขียว รวบรวมฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ ทั้งต้านบวกและลบใน 6 เมืองเกษตรสีเขียว ประสานฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ภายในกรมต่างๆ ของกระทรวงเกษตรฯ ที่ ดำเนินการเรื่อง Green Agriculture City และเชื่อมโยงฐานข้อมูลจาก 12 กระทรวงหลัก ที่มีผลโดยตรงและโดยอ้อมต่อ การขับเคลื่อน รวมทั้งเชื่อมโยงและแปลงฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ทันสมัยให้แก่จังหวัด จากการนำข้อมูลภายนอกและ ภายในมาประมวลผลทำให้สามรถที่จะชี้เป้าหมายและขับเคลื่อน 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ กรมพัฒนาที่ดิน ของ จังหวัดราชบุรี โตยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์แบบหลายลำดับชั้น (Analytical Hierarchy Process: AHP) ใน การวิเคราะห์หาค่าน้ำหนักเรื่องของการเลือกพื้นที่สีเขียวของแต่ละอำเภอในจังหวัดราชบุรี ซึ่งดำเนินการควบคู่กับ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems: GIS) โดยวิธีหาค่ดัชนีความเหมาะสมของพื้นที่ (Land Index) กรตรวจเลือดของกษตรกตยสาธรณสุขจังหวัด และการสำรวจความรู้สึกจากเกษตรกรหลังการใช้ สารเคมีทางการเกษตรโดยใช้ ANOVA สรุปการหาพื้นที่ที่เหมาะสมมากที่สุดในการดำเนินงานเมืองเกษตรสีเขียว จังหวัดราชบุรี โดยใช้ AHP ร่วมกับ Land Index ผลจากการวิเคราะห์สามารถบ่งชี้อำเภอที่มีความเหมาะสมในการดำเนินงานก่อน คือ อำเภอบางแพ มีพื้นที่เหมาะสม 74,49256 ไร่ หรือ ร้อยละ 65.27 ของพื้นที่อำเภอ สำหรับพื้นที่ที่เหมาะสมน้อยที่สุด คือ อำเภอเมือง ราชบุรี การตรวจและคัดกรองการแพ้สารเคมีในเกษตรกร โดยสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี พบว่า แนวโน้มตั้งแต่ ปี 2557 ที่ผ่านมา ผลตรวจเลือดมีความเสี่ยง พบที่อำเภอโพธาราม ส่วนผลตรวจเลือดอาการไม่ปลอดภัย พบที่อำเภอ จอมบึง นอกจากนี้ การประเมินข้อมูลความเจ็บป่วยหรืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นหลังการใช้หรือสัมผัสสารเคมีกำจัดสัตว์ ศัตรูพืช จากการสำรวจและเก็บรวบรมข้อมูลของเกษตรกรโดยใช้แบบสอบถาม พบว่า เกษตรกรมีอาการผิดปกติมาก ที่สุต ในพื้นที่อำเภอดำเนินสะดวก จากความรู้สึกของเกษตรกรในพื้นที่ ซึ่งแต่ละอำเภอไม่มีความแตกต่างกัน นั่นคือ เกษตรกรเกือบทุกอำเภอมีความรู้สึกว่าตัวเองปลอดภัยและไม่ได้รับผลกระทบจากการสัมผัสสารเคมี แต่จะมีเพียงบาง อำเภอที่ให้ผลด้านความรู้สึกว่าไม่ปลอดภัย การกำหนดพื้นที่เป้าหมายทั้งจังหวัดจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อให้การ ดำเนินงานมืองเกษตรสีเขียวเป็นรูปธรรม ดังนั้น กรมวิชาการเกษตรต้องเฝ้าติดตามปริมาณการกระจายสารเคมีที่เป็น พิษของร้านค้า และการตรวจสอบคุณภาพผลผลิตว่ามีค่าเกินมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่ นอกจากนี้ทางสาธารณสุข จังหวัดจำเป็นต้องกำหนดตารางเวลาและปฏิทินของหน่วยงานให้สอดคล้องกับการทำงานของเกษตรจังหวัดและกรม วิชาการเกษตร ตรจหาสารพิษที่ตกค้างในเลือดของเกษตรกรและผู้บริโภค เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนภาพโดยแท้จริง และเป็นกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน
บทคัดย่อ (EN): Green agriculture city Model in Ratchaburi province work on Ratchaburi area in February-September 2014. The goal makes to develop indicators of Green agriculture city, the spatial database for positive and negative in 6 Green Agriculture City, special database is harmonized the office in Ministry of Agriculture and Cooperatives for work Green Agriculture City and connect database from 12 majors of ministry operate that the result are direct and indirect of project. Connect and spatial database converter is live for province. Analysis of input and output data are able to identify and operate for 6 Green Agriculture City model of Land Development Department in Ratchaburi province. Land suitability of Green Agriculture City in each of Ratchaburi district area from weight analysis by mean of Analytical Hierarchy Process (AHP) and operate Geographic information System (GIS) by Land index (LI), blood test of famers by Provincial Public Health Office and sensitive of farmers after they used agricultural chemicals by ANOVA analysis. Conclude of land suitability of Green Agriculture City in Ratchaburi province means of Analytical Hierarchy Process (AHP) and Land index (LI). The result of analysis is able to the first land suitability in district to operate such as Bang Phae 74,492.56 rai (62.27% of the district) for the opposite is Muang Ratchaburi district respectively. Blood test information and chemical allergic in 2013-2014 from farmers by Provincial Public Health Office has indicated that Photharam District is a risk Zone levels for blood testing but Chom Bung is an unsafe zone levels for blood testing. Dam Neon Saduaka famer questioners indicate that they have gotten impact from chemical pesticide poisonings. Sense of farmer isnt different in each district that is farmers well-nigh district has safety and not impact from chemical but some farmers district feel unsafe. Designated target all area in province need to get cooperate from the Governor for operate Green Agriculture City is concrete So that the Department of Agriculture have to monitor distribution volumne chemicals has a toxic in stores and check product quality. Moreover Provincial Public Health Office has scheduled the agency to comply with the work of Department of Agriculture. Detect chemicals in the blood of farmers and consumers for get the actual data and the same target.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-07-23
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้ Bio-charcoal ในนาข้าวสำหรับจังหวัดราชบุรี
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2557
การใช้ Bio-charcoal ในนาข้าวสำหรับจังหวัดเชียงใหม่ การใช้ Bio-charcoal ในนาข้าวสำหรับ 6 เมืองเกษตรสีเขียว การใช้ข้าว Indica สำหรับการผลิตเหล้าสาเก การใช้ข้าวเปลือกเป็นอาหารเสริมสำหรับโคพื้นเมือง การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตข้าวของชุมชน ตำบลเบิกไพร จังหวัดราชบุรี การศึกษาการยอมรับของเกษตรกรในการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปการจัดการดิน น้ำ และพืชเศรษฐกิจสำหรับประเทศไทย ในพื้นที่นาข้าวจังหวัดลำปาง ความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผลิตโดยศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวราชบุรีของเกษตรกรจังหวัดราชบุรี การใช้ประโยชน์ชุดตรวจดินภาคสนามกรมพัฒนาที่ดินสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยสำหรับการปลูกข้าวในจังหวัดลำพูน การใช้สารกำจัดศัตรูพืชและการตกค้างของสารพิษในองุ่นที่ปลูกในจังหวัดราชบุรี การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ข้าวสำหรับเกษตรกรรายย่อยจังหวัดราชบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก