สืบค้นงานวิจัย
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อให้ได้ผลผลิตและคุณภาพlสูงในเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ชฎามาศ จิตต์เลขา, กิ่งกานท์ พานิชนอก, ประภาส ช่างเหล็ก, แสงแข น้าวานิช, พจนีย์ สุภามงคล, วราภรณ์ บุญเกิด, สดใส ช่างสลัก - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อให้ได้ผลผลิตและคุณภาพlสูงในเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อเรื่อง (EN): The Transfer Technology of Field Corn for High Yield and good Quality in Pak Chong, Nakhon Ratchasima Province
บทคัดย่อ: การประเมินผลการฝึกอบรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้ได้ผลผลิตสูงและคุณภาพดี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลความสำเร็จของการถ่ายทอดผลการวิจัยสู่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในด้านพันธุ์ สิ่งที่เกษตรกรควรรู้ การจัดการดินและปุ๋ยให้เกิดประโยชน์สูงสุด การบริหารศัตรูพืช และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การฝึกอบรมมี 2 รุ่น ระหว่างวันที่ 7 - 8 มกราคม 2554 ณ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ เกษตรกรในพื้นที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 148 คน ทำการฝึกอบรมโดยใช้การบรรยายและดูงานแปลงสาธิต ผลการประเมินจากแบบแสดงความคิดเห็นพบว่า ก่อนการฝึกอบรมเกษตรกรมีความรู้ระดับปานกลางเพียง 3.35 คะแนน เมื่อเข้ารับการฝึกอบรมแล้วมีความรู้เพิ่มขึ้นในระดับดีมาก 4.34 คะแนน ซึ่งมีความพึงพอใจในภาพรวมของการฝึกอบรมในระดับดีมาก 4.24 คะแนน และสามารถนำสิ่งที่ได้จากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ระดับดีมาก 4.33 คะแนนการประเมินผลการฝึกอบรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้ได้ผลผลิตสูงและคุณภาพดี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลความสำเร็จของการถ่ายทอดผลการวิจัยสู่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในด้านพันธุ์ สิ่งที่เกษตรกรควรรู้ การจัดการดินและปุ๋ยให้เกิดประโยชน์สูงสุด การบริหารศัตรูพืช และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การฝึกอบรมมี 2 รุ่น ระหว่างวันที่ 7 - 8 มกราคม 2554 ณ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ เกษตรกรในพื้นที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 148 คน ทำการฝึกอบรมโดยใช้การบรรยายและดูงานแปลงสาธิต ผลการประเมินจากแบบแสดงความคิดเห็นพบว่า ก่อนการฝึกอบรมเกษตรกรมีความรู้ระดับปานกลางเพียง 3.35 คะแนน เมื่อเข้ารับการฝึกอบรมแล้วมีความรู้เพิ่มขึ้นในระดับดีมาก 4.34 คะแนน ซึ่งมีความพึงพอใจในภาพรวมของการฝึกอบรมในระดับดีมาก 4.24 คะแนน และสามารถนำสิ่งที่ได้จากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ระดับดีมาก 4.33 คะแนน
บทคัดย่อ (EN): Evaluation on the achievement of the training course for corn farmers on technology of field corn production for high yield and good quality was carried out at the National Corn and Sorghum Research Center, Pakchong district, Nakhon Ratchasima province. In the production technology aspect, the emphases were on field corn cultivars, basic knowledge requirement for farmers, soil and fertilizer management, crop protection, and post-harvest management. Two training courses were conducted during January 7-8, 2011. There were altogether 148 participants. The training included lectures and farm demonstration. The evaluation showed that score of the knowledge of farmers prior to the training was 3.35. And the score improved to 4.34 after the training, which was considered excellence. While the score for the overall achievement of the training was 4.24, which was also considered excellence. Furthermore, the score of applicability of the training was 4.33, which was considered excellence too. Evaluation on the achievement of the training course for corn farmers on technology of field corn production for high yield and good quality was carried out at the National Corn and Sorghum Research Center, Pakchong district, Nakhon Ratchasima province. In the production technology aspect, the emphases were on field corn cultivars, basic knowledge requirement for farmers, soil and fertilizer management, crop protection, and post-harvest management. Two training courses were conducted during January 7-8, 2011. There were altogether 148 participants. The training included lectures and farm demonstration. The evaluation showed that score of the knowledge of farmers prior to the training was 3.35. And the score improved to 4.34 after the training, which was considered excellence. While the score for the overall achievement of the training was 4.24, which was also considered excellence. Furthermore, the score of applicability of the training was 4.33, which was considered excellence too.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อให้ได้ผลผลิตและคุณภาพlสูงในเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2554
เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2543 ของเกษตรกรจังหวัดนครราชสีมา สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในตำบลพญาเย็น อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรอำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรตามโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดชุมชนจังหวัดพะเยา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรตามโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดชุมชนจังหวัดพะเยา สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ตำบลหนองบัวน้อย อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ตำบลหินดาด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา สภาพการใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนาของเกษตรกรจังหวัดพิษณุโลก การใช้เทคโนโลยีในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร จังหวัดขอนแก่น ปี 2539 สภาพปัญหาและความต้องการในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในอำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก