สืบค้นงานวิจัย
การจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไวต่อช่วงแสงโดยใช้แบบจำลองการปลูกข้าว (DSSAT CERES-RICE) ในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์
กรรณิการ์ หอมยามเย็น - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: การจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไวต่อช่วงแสงโดยใช้แบบจำลองการปลูกข้าว (DSSAT CERES-RICE) ในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์
ชื่อเรื่อง (EN): Site Specific Soil and Nutrient management recommendation of Rice in Surin and Burirum Province by using DSSAT CERES-RICE model.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: กรรณิการ์ หอมยามเย็น
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาเพื่อจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไวต่อช่วงแสง โดยใช้แบบจำลองการปลูกข้าว (DSSAT CERES-RICE)ในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมข์ ไดยการ ทำแปลงทดลอง ทคสอบ ความแม่นยำของ แบบจำลองสรุปว่า แปลงทดลองที่ เ มีค่า AI = 0.77 และค่า RMSE - 126 กิโลกรัมต่อไร่ แปลงทดลองที่ 2 มีค่า AI = 0.75 และค่า RMSE = 81 กิโลกรัมต่อไร่ และแปลงทดลองที่ 3 มีค่า AI = 0.76 และค่า RMSE = 122 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งผลการเปรียบเทียบ ระหว่างข้อมูลผลผลิตแปลงทดลองกับผลผลิตจากแบบจำลองมีค่า Agreement Index (AI) เป็นที่ยอมรับได้ แสดงว่าแบบจำลองมีค วามสามารถในการจำลอง การเจริญเติบโตและ ประเมินผลผลิตข้าวได้อย่างตึ สามารถจัดทำคำแนะนำปียที่หมาะสม สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยสรุปดาม พื้นที่และกลุ่มเนื้อดิน ในจังหวัดสุรินทร์ ได้คือ ในสภาพพื้นที่ลุ่มและที่ดอนพวกกลุ่มเนื้อดินเหนียวจะ ได้ผลผลิต มากที่สุด แนะนำปุ๋ย ไนโตรเจนปริมาณ 4-12 กก./ไร่ สำหรับพื้นที่ลุ่ม ส่วนพื้นที่ตอนแนะนำปุ๋ยไนโตรเจน 6-16 กก/ไร่ ปุ้ย ฟอสฟอรัส 3-6 กก/ไร่ และปุ๋ขโพแทสเชียม 3-6 กก/ไร่ ได้ผลผลิตประเมิน 320-685 กก/ไร่ ในสภาพพื้นที่ลุ่ม ส่วนที่ตอนได้ผลผลิตประเมิน 107-642 กก/ไร่ และจังหวัดบุรีรัมย์ก็สรุปได้ว่า ในสภาพพื้นที่ลุ่มและที่ตอนพวก กลุ่มเนื้อดินเหนียวจะได้ผลผลิตมากที่สุด แนะนำปุ๋ยในโตรเจนปริมาณ 6-1! กก/ไร่ สำหรับพื้นที่ลุ่ม ส่วนพื้นที่ ดอนแนะนำปุ๋ยในโตรเจน 4-16 กก/ไร่ ปุ๋ยฟอสฟอรัส 3-6 กก/ไร่ และปุ๋ยโพแทสเซียม 3-6 กก/ไร่ ได้ผลผลิต ประเมิน 405-508 กก./ไร่ ในสภาพพื้นที่ลุ่ม ส่วนที่ตอนได้ผลผลิตประเมิน 101-564 กก/ไร่
บทคัดย่อ (EN): Application of CERES-RICE model to estimate photo-rice yields and fertilizer recommendation in Surin province and Buriram province. The CERES-RICE model was validated against a data set of three field experiments. We compared rice yields and adjusted coefficient of correlation; by agreement index (Al) and normalized root mean square errors (RMSE). There were AI = 0.77 and RMSE = 787.5 kgha for first field, AI = 0.75 and RMSE = 506 kg/ha for second field, AI = 0.76 and RMSE = 762.5 kg/ha for third field. It can be conclude that CERES-RICE model have good correlation with field experiments. The study results, which is used to recommend of fertilizer rate for photo-rice plantation in Surin province. Clayey soil productivity can get the most prediction rice yield were 2,000-4,281 kg/ha for lowland and 669-4,013 kg/ha for upland. The amount of nitrogen fertilizer was 25-75 kg/ha for clayey soil in lowland and 37.5-100 kg/ha for upland. Furthermore phosphorus fertilizer was 19-37.5 kg/ha and potassium fertilizer was 19-37.5 kg/ha for clayey soil. In addition to, in Buriram province the clayey soil productivity can get the most prediction rice yield were 2,531-3,175 kg/ha for lowland and 63 1-3,525 kg/ha for upland. The amount of nitrogen fertilizer was 37.5-68.7 kg/ha for clayey soil in lowland and 25-100 kgha for upland. Furthermore phosphorus fertilizer was 19-37.5 kg/ha and potassium fertilizer was 19-37.5 kg /ha
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไวต่อช่วงแสงโดยใช้แบบจำลองการปลูกข้าว (DSSAT CERES-RICE) ในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2555
ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การจำลองอิทธิพลของวันปลูกและการจัดการไนโตรเจนต่อข้าวไร่ พันธุ์เงาะสะตะโดยแบบจำลองการเจริญเติบโตของข้าวเหนียวก่ำ การเพิ่มผลผลิตข้าวนาหว่านน้ำตมภายใต้การจัดการปุ๋ยในชุดดินพัทลุง ผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการเลือกใช้วัสดุปรับปรุงดินเปรี้ยวเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว การผลิตข้าวอินทรีย์ ของจังหวัดสุรินทร์ การจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวอย่างยั่งยืน ผลการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ต่างชนิดต่อผลผลิตข้าวนอกนา การจัดการไนโตรเจนและสังกะสีเพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพข้าวที่ปลูกในดินที่ปนเปื้อนสารแคดเมียม การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง ในเขตพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง จังหวัดนครราชสีมา การเปรียบเทียบสมบัติของดินระหว่างการปลูกข้าวอินทรีย์ การปลูกข้าวลดการใช้ปุ๋ยเคมี และการปลูกข้าวแบบใช้ปุ๋ยเคมี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก