สืบค้นงานวิจัย
การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย
อำนวย คงพรหม, จินดา เพชรกำเนิด, อัญญานี แย้มรุ่งเรือง, ทิวารัตน์ สินอนันต์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Stock Assessment of Anchovy in the Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักอ่าวไทยทรัพยากรประมงทะเล
บทคัดย่อ: ประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ?าวไทยโดยรวบรวมข?อมูลจากเครื่องมือประมงพื้นบ?านและ พาณิชย?ที่ทําการประมงในอ?าวไทย ตั้งแต?จังหวัดตราดถึงป?ตตานี ในเดือนมกราคม-ธันวาคม ป? 2551 โดยศึกษา ปลากะตักชนิดหลักที่พบในอ?าวไทย 3 ชนิด คือ Encrasicholina heteroloba E. punctifer และ E. devisi ได?ค?าพารามิเตอร?ต?างๆ ตามลําดับของปลากะตักทั้ง 3 ชนิด ดังนี้ ความยาวอนันต?เท?ากับ 10.73 10.85 และ 10.30 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การเติบโตเท?ากับ 1.85 1.92 และ 1.95 ต?อป? สัมประสิทธิ์การตายรวมเท?ากับ 8.247 10.903 และ 7.028 ต?อป? สัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ เท?ากับ 2.946 3.009 และ 3.084 ต?อป? สัมประสิทธิ์การตายโดยการประมง เท?ากับ 5.3017.894 และ 3.944 ต?อป?ปลากะตักทั้ง 3 ชนิด มีขนาดความยาว ที่เริ่มเข?าสู?ข?ายการประมงเท?ากับ 3.00 เซนติเมตรและพบว?ามีจํานวนปลากะตักชนิดE.heteroloba E.punctifer และ E. devisi ในอ?าวไทย เท?ากับ 124,240.1 57,946.3 และ 8,193.9 ล?านตัวตามลําดับ เมื่อพิจารณาตามชนิด เครื่องมือพบว?า อวนครอบปลากะตักป??นไฟขนาดเล็ก (ความยาวเรือ ?14 เมตร) และอวนล?อมจับปลากะตักกลางวัน จับได?ปลากะตักขนาดเล็กกว?าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ? มากกว?าอวนครอบปลากะตักป??นไฟขนาดใหญ? (ความยาวเรือ >14 เมตร) และอวนล?อมจับปลากะตักป??นไฟ โดยอวนครอบปลากะตักความยาวเรือ ?14 เมตร จับปลากะตักทั้ง 3 ชนิด ได? 1-3 กลุ?มมีความยาวเฉลี่ย 4.04-7.86 เซนติเมตร อวนครอบปลากะตักป??นไฟความยาวเรือ >14 เมตร จับได? 4 กลุ?มมีความยาวเฉลี่ย4.12-7.97 เซนติเมตร และอวนล?อมจับปลากะตักป??นไฟ จับได? 2-4 กลุ?มมีความยาวเฉลี่ย 3.72-8.02 เซนติเมตร อวนล?อมจับปลากะตักกลางวัน จับได? 3 กลุ?ม มีความยาวเฉลี่ย 3.91-7.25 เซนติเมตร ผลผลิตสูงสุดที่ยั่งยืนของปลากะตักชนิด E. heteroloba E. punctifer และ E. devisi มีค?าเท?ากับ 67,563 37,944 และ 4,202 เมตริกตัน ตามลําดับ และของปลากะตักรวมทั้ง 3 ชนิด มีค?าเท?ากับ 108,478 เมตริกตัน การลงแรงประมงจับปลากะตักโดยรวมมากเกินระดับผลผลิตสูงสุดที่ยั่งยืนไปร?อยละ 10จากปริมาณการลงแรง ประมงในป?2551
บทคัดย่อ (EN): Stock assessment of anchovies in the Gulf of Thailand was carried out by collecting data from small-scale and commercial fishing gears along the Gulf from Trat to Pattani Provinces during January-December, 2008. The study was done on the 3 majorities of anchovies in the Gulf of Thailand, that is Encrasicholina heteroloba, E. punctifer and E. devisi. Of those 3 species, asymptotic lengths were 10.73, 10.85 and 10.30 cm, growth coefficients were 1.85, 1.92 and 1.95 per year, total mortality coefficients were 8.247, 10.903 and 7.028 per year, natural mortality coefficients were 2.946, 3.009 and 3.084 per year, fishing mortality coefficients were 5.301, 7.894 and 3.944 per year, respectively. For all 3 species, the first length recruit into the fisheries had their lengths at 3.00 cm. Amounts of E. heteroloba, E. punctifer and E. devisi in the Gulf of Thailand were 124,240.1, 57,946.3 and 8,193.9 million individuals, respectively. Number of anchovies having the lengths smaller than their lengths at first maturity which were caught by both ?14 meters-anchovy falling netter with light luring and anchovy purse seiner were found more than those caught by >14 meters-anchovy falling netter with light luring and anchovy purse seiner with light luring. The 1-3 groups of those 3 anchovies with mean length at 4.04- 7.86 cm were caught by ?14 meters-anchovy falling netter with light luring, while those 4 groups, mean length at 4.12-7.97 cm were caught by >14 meters-anchovy falling netter with light luring and anchovy purse seiner, and the 3 groups, mean length at 3.91-7.25 cm were caught by anchovy purse seiner. Maximum sustainable yields of E. heteroloba, E. punctifer and E. devisi were 67,563, 37,944 and 4,202 metric ton respectively; while those of overall 3 species were 108,478 metric ton. Fishing effort of anchovies in the Gulf of Thailand was found 10 percent exceeding their maximum sustainable yield in 2008.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2553
กรมประมง
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาข้างเหลือง Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833)ในอ่าวไทย สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทรายแดงชนิด Nemipterus hexodon และ N. peronii ในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida elongata และ S. undosquamis ในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker, 1849) ในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแข้งไก่ Megalaspis cordyla (Linnaeus,1785) ในอ่าวไทย พ.ศ. 2550 ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาสีกุนตาโต Selar crumenopthalmus (Bloch, 1793) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทูแขกชนิด Decapterus maruadsi ในอ่าวไทย สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแพะเหลือง Upeneus sulphureus(Cuvier,1829) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก