สืบค้นงานวิจัย
เครื่องมือประมงขนาดเล็กบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก
ธนัช ศรีคุ้ม, อนุชา ส่งจิตต์สวัสดิ์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: เครื่องมือประมงขนาดเล็กบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก
ชื่อเรื่อง (EN): Small scale fishing ground and season in the eastern Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาเครื่องมือประมงขนาดเล็กบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึงกันยายน พ.ศ. 2555 ในหมู่บ้านชาวประมงในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด จ านวน 10 อ าเภอ 32 ต าบล 47 หมู่บ้าน พบมีเครื่องมือประมงขนาดเล็ก จ านวน 3 ประเภท จ านวน 17 ชนิด โดยเครื่องมือประมงที่พบท าการประมงมากที่สุดได้แก่เครื่องมือประเภทอวนติดตา และลอบ ซึ่งเครื่องมือ ประมงหลัก ประเภทอวนติดตาชนิดที่พบมาก 3 ชนิด คือ อวนจมปู อวนลอยกุ้งสามชั้น และ อวนลอยปลาทู โดยอวนจมปู ท าการประมงที่ระดับความลึกน้ า 1.0-24.0 ม. มีระยะห่างฝั่ง 0.5-15 กม. ท าการประมง หนาแน่นบริเวณอ่าวเพ จ .ระยอง และร่องเกาะช้าง อ่าวตรา ด จ.ตราด อวนลอยกุ้งสามชั้น ท าการประมงที่ ระดับความลึกน้ า 2.0-21.0 ม. มีระยะห่างฝั่ง 2.0-10.0 กม. ท าประมงหนาแน่นบริเวณร่องเกาะช้าง และ เขตอ าเภอคลองใหญ่ จ.ตราด และอวนลอยปลาทู ท าการประมงที่ระดับความลึกน้ า 2.0-24.0 ม. มีระยะห่าง ฝั่ง 0.5-10.0 กม. ท าการประมงหนาแน่นบริเวณทิศตะวันออกของเกาะเสม็ด จ .ระยอง หน้าอ่าวคุ้งกระเบน จ.จันทบุรี และร่องเกาะช้าง อ่าวตราด จ.ตราด ซึ่งเครื่องมือประมงทั้ง 3 ชนิดนี้มีการท าประมงตลอดทั้งปี และ เครื่องมือ ที่พบรองลงมา คือ เครื่องมือ ประเภทลอบ ที่พบท าการประมงมาก 3 ชนิด คือ ลอบปูแบบพับได้ ลอบหมึก และลอบหมึกสาย โดยลอบปูแบบพับได้ มี 2 ชนิด ได้แก่ ลอบปูม้าแบบพับได้ ท าการประมงที่ระดับ ความลึกน้ า 2.0-18.0 ม. มีระยะห่างฝั่ง 0.5-8 กม. ท าการประมงบริเวณหน้าปากน้ าพังราด จ .ระยอง อ่าว คุ้งกระเบน จ.จันทบุรี และอ่าวตราด จ.ตราด ฤดูท าการประมงช่วงเดือน เมษายนถึงพฤษภาคม และลอบปูด า แบบพับได้ส่วนใหญ่ท าการประมงในคลอง มีระดับความลึกน้ า 1.0-10.0 ม. ระยะห่างฝั่ง 0.5-4.0 กม. ท า การประมงหนาแน่นบริเวณอ่าวตราด ซึ่งลอบปูแบบพับได้ทั้ง 2 ชนิดนี้ ส่วนใหญ่ท าการประมงตลอดทั้งปีลอบ หมึก ท าการประมงที่ระดับความลึกน้ า 6.0-30.0 ม. ระยะห่างฝั่ง 2.0-25.0 กม. ท าการประมงหนาแน่น บริเวณทิศใต้ของเกาะเสม็ด จ.ระยอง และหมู่เกาะช้าง เกาะกูด จ .ตราด ท าการประมงตลอดปี และลอบหมึก สาย ท าการประมงที่ระดับความลึกน้ า 3.0-20.0 ม. มีระยะห่างฝั่ง 0.5-10.0 กม. ท าการประมงบริเวณหน้า หาดพะยูน อ .บ้านฉาง จ .ระยอง และหน้าอ า เภอคลองใหญ่ จ .ตราด ท าการประมง หนาแน่น ช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงพฤษภาคม ส่วนใหญ่ชาวประมงจะท าการประมงตลอดทั้งป
บทคัดย่อ (EN): Study on small scale fishing gear along the eastern Gulf of Thailand during October 2010-September 2011 in the fishing villages of 3 provinces, namely Rayong, Chanthaburi and Trat Province, including 10 Districts, 32 Sub-districts or 47 villages. There were 3 types or 17 kinds of small scale fishing gears found. Most typically operated fishing gears were the gill net and trap fishing gears. Mainly, 3 kinds of gill nets were found, there were crab gill nets, shrimp trammel nets and Indo-Pacific mackerel gill nets. Fishing grounds for the crab gill net was located at the water depth 1.0-24.0 meter and 0.5-15.0 kilometers far from shore. The fishing was highly concentrated in Ao Phe, Rayong Province and from the Chang Channel to Ao Trat, Trat Province. Fishing grounds for the shrimp trammel net was located at the water depth 2.0-21.0 meter and 2.0-10.0 kilometers far from shore. The fishing was highly concentrated from the Chang Channel to Khlong Yai District, Trat Province. Fishing grounds for the Indo-Pacific mackerel gill net was located at the water depth 2.0-24.0 meter and 0.5-10.0 kilometers far from shore. The fishing was highly concentrated in the eastern of Samet Island, Rayong Province, Kung-Kraben Bay, Chanthaburi Province and in the Chang Channel, Trat Province. Fishing with the 3 kinds of nets could be done throughout the year. Besides the net fishing gears, 3 kinds of trap fishing gear were found, namely the collapsible crab traps, squid traps and octopus traps. There were 2 kinds of the collapsible crab traps, the first ones were operated in the water depth 2.0-18.0 meter and 0.5-8.0 kilometer far from shore. Fishing was concentrated in Pung-Rat Bay, Rayong Province, Kung-Kraben Bay, Chanthaburi Province and in Ao Trat, Trat Province. The other ones were used to catch the mud-crab. Fishing was mainly operated inside the canals and mangrove areas where the water depth was 1.0-10.0 meter. Fishing was highly concentrated in Ao Trat, Trat Province. Both of the collapsible crab traps could be done throughout the year. The squid traps were operated at the water depth 6.0-30.0 meter and 2.0-25.0 kilometer far from shore. The squid traps were fished in the water depth 6.0-30.0 meter and 2.0-25.0 kilometer far from shore. The fishing was highly concentrated southern of the Samet Island, Rayong Province and around the Chang and Kut Islands, Trat Province. The fishing could be done throughout the year. And the octopus traps were fished in the water depth 3.0-20.0 meter and 5.0-10.0 kilometer far from shore. Fishing was highly concentrated in Payun Bay, Ban Chang District, Rayong Province and Khlong Yai District, Trat 3 Province. The fishing could be done seasonally during November-May or throughout the year.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-06-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/291373
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เครื่องมือประมงขนาดเล็กบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก
กรมประมง
30 มิถุนายน 2555
เอกสารแนบ 1
กรมประมง
การกำหนดพื้นที่ทำการประมงทะเลให้เหมาะสมกับเครื่องมือประมงและฤดูกาลบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก สภาวะการทำประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก การวางลอบหมึกที่ระดับความลึกต่างกันบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก สภาวะทรัพยากรกุ้งทรายชนิด Trachypenaeus fulvus (Dall,1957) ในบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย สภาวะทรัพยากรกุ้งตะกาดชนิด Metapenaeus affinis (H. Milne Edwards, 1837) บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ต้นทุน และผลตอบแทนจากการทำประมงกุ้งทะเลบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก การประมงหมึกกระดองจากเครื่องมืออวนลากพาณิชย์ในอ่าวไทย ชีววิทยาปลาข้างเหลืองชนิด Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833) ในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาแข้งไก่(Megalaspis cordyla (Linnaeus,1758)) ในอ่าวไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก