สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบโปรตีนจากพืชในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricus, 1798) และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790)
สุพล ตั่นสุวรรณ, นงลักษณ์ สำราญราษฎร์, สกนธ์ แสงประดับ, พิเชต พลายเพชร, ปณต กลิ่นเชิดชู, กมลรัตน์ ยงเจริญ, ปิยารมณ์ คงขึม, สุพล ตั่นสุวรรณ, นงลักษณ์ สำราญราษฎร์, สกนธ์ แสงประดับ, พิเชต พลายเพชร, ปณต กลิ่นเชิดชู, กมลรัตน์ ยงเจริญ, ปิยารมณ์ คงขึม - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบโปรตีนจากพืชในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricus, 1798) และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790)
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ประสิทธิภาพการย?อยโปรตีนจากวัตถุดิบโปรตีนจากพืชในกุ?งกุลาดํา Penaeus monodon (Fabricius, 1798) และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790) สกนธ? แสงประดับ๑ * นงลักษณ? สําราญราษฎร?๑ กมลรัตน? ยงเจริญ๑ พิเชค พลายเพชร๒ และป?ยารมณ? คงขึม๑ ๑ สถาบันวิจัยอาหารสัตว?น้ําชายฝ??ง ๒ สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว?น้ําจืด บทคัดย?อ การศึกษาประสิทธิภาพการย?อยวัสดุแห?ง (ADMD) ประสิทธิภาพการย?อยโปรตีน(APD) และ ประสิทธิภาพการย?อยพลังงาน(AED) ในวัสดุอาหารจํานวน 12 ชนิด ได?แก? กากเมล็ดทานตะวันป?น ใบมะรุมป?น ใบมันสําปะหลังป?น ใบกระถินป?น สาหร?ายผักกาดทะเลป?น สาหร?ายมงกุฎหนามป?น กากเมล็ดทานตะวันปรับ pHป?น ใบมะรุมปรับpHป?น ใบมันสําปะหลังปรับpHป?น ใบกระถินปรับpHป?น สาหร?ายผักกาดทะเลปรับpHป?น สาหร?ายมงกุฎหนามปรับ pH ป?น ในกุ?งกุลาดําและปลากะพงขาว โดยการทดลองแรก ทดลองกับกุ?งกุลาดําที่มี น้ําหนักตัวเริ่มต?นเฉลี่ย 7.43 กรัม โดยเลี้ยงกุ?งกุลาดําด?วยอาหารสูตรอ?างอิงที่มีปลาป?นเป?นแหล?งโปรตีนหลัก และอาหารสูตรอ?างอิงที่ถูกแทนที่ด?วยวัสดุอาหารที่ต?องการทดสอบ 30 % จํานวน 13 สูตร เป?นเวลา 6 สัปดาห? ผลการศึกษาพบว?ากุ?งกุลาดํามีค?า ADMD ระหว?าง 34.25 -79.18% โดยกุ?งกุลาดําสามารถย?อยวัสดุแห?งของ สาหร?ายผักกาดทะเลป?น สาหร?ายมงกุฎหนามป?นได?มากกว?าวัสดุอาหารอื่น ส?วนค?า APD มีค?าระหว?าง 30.15- 78.60% โดยกุ?งกุลาดําสามารถย?อยโปรตีนของกากเมล็ดทานตะวันป?นและละกาเมล็ดทานตะวันปรับ pHป?นได? ดีที่สุด และค?า AED ระหว?าง 47.53 -64.81% โดยกุ?งกุลาดําสามารถย?อยพลังงานของใบมะรุมปรับpHป?น สาหร?ายผักกาดทะเลป?น สาหร?ายมงกุฎหนามปรับpHป?น ใบกระถินป?น สาหร?ายฝ?กกาดทะเลปรับpHป?น และ กากเมล็ดทานตะวันป?นได?มากกว?าวัสดุอาหารอื่น นอกจากนี้พบว?ากุ?งกุลาดําที่เลี้ยงด?วยอาหารที่มีการแทนที่ ปลาป?นบางส?วนด?วยสาหร?ายมงกุฎหนามป?น กากเมล็ดทานตะวันปรับ pHป?น กากเมล็ดทานตะวันป?น ใบ กระถินป?น ใบมะรุมป?น และใบมันสําปะหลังป?น มีน้ําหนักเพิ่มมากกว?ากุ?งที่เลี้ยงด?วยอาหารทดสอบสูตรอื่น ๆ กุ?งกุลาดําที่เลี้ยงด?วยอาหารที่มีการแทนที่ปลาป?นบางส?วนด?วยสาหร?ายมงกุฎหนามปรับ pHป?น กากเมล็ด ทานตะวันป?น ใบมันสําปะหลังป?น ใบมะรุมปรับ pHป?น สาหร?ายผักกาดทะเลป?น และใบมะรุมป?น มีอัตรา การรอดตายสูงกว?ากุ?งกุลาดําที่เลี้ยงด?วยอาหารสูตรทดสอบอื่น ๆ ส?วนการทดลองที่ 2 ทดลองในปลากะพงขาวมีน้ําหนักตัวเริ่มต?นเฉลี่ย 14.56กรัม โดยเลี้ยงปลากะพง ขาวด?วยอาหารที่มีการวัตถุดิบเช?นเดียวกับการทดลองในกุ?งกุลาดํา เป?นเวลา 5 สัปดาห? ผลการศึกษาพบว?า ปลากะพงขาวมีค?า ADMD ระหว?าง 41.13 -78.66% โดยปลากะพงขาวสามารถย?อยวัสดุแห?งของสาหร?าย ผักกาดทะเลป?นใบมันสําปะหลังปรับpHป?น สาหร?ายผักกาดทะเลปรับpHป?น และสาหร?ายมงกุฎหนามป?นให?ค?า มากกว?าวัสดุอาหารอื่น ส?วนค?า APD มีค?าระหว?าง 85.32% -33.93% โดยปลากะพงขาวสามารถย?อยโปรตีน ของกากเมล็ดทานตะวันปรับpHป?น สาหร?ายผักกาดทะเลป?น กากเมล็ดทานตะวันป?น และใบมะรุมป?นได? มากกว?าวัสดุอาหารอื่น และค?า AED ระหว?าง 30.59 -72.58% โดยปลากะพงขาวสามารถย?อยพลังงานของ สาหร?ายผักกาดทะเลป?น สาหร?ายมงกุฎหนามป?น และกากเมล็ดทานตะวันปรับpHป?น ได?มากกว?าวัสดุอาหาร อื่น นอกจากนี้ในกลุ?มปลากะพงขาวที่เลี้ยงด?วยอาหารสูตรทดสอบต?าง ๆ ปลาเลี้ยงด?วยอาหารทีมีกากเมล็ด ทานตะวันป?น ใบกระถินปรับpH ป?น สาหร?ายผักกาดทะเลป?น ใบกระถินป?น กากเมล็ดทานตะวันปรับ pHป?น ใบมันสําปะหลังป?น ใบมะรุมป?น และใบมันสําปะหลังปรับ pH ป?น มีน้ําหนักเพิ่มมากกว?าปลาที่เลี้ยงด?วยอาหาร สูตรทดสอบอื่นๆ อย?างไรก็ตามปลากะพงขาวที่เลี้ยงด?วยอาหารสูตรทดสอบทุกสูตรมีอัตราการรอดตายไม? แตกต?างกัน คําสําคัญ: วัตถุดิบอาหาร ประสิทธิภาพการย?อยโปรตีน กุ?งกุลาดํา ปลากะพงขาว * ๔๑/๑๔ หมู? ๙ ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี๒๐๑๑๐ โทรศัพท? ๐ ๓๘๓๑ ๒๕๓๒ e-mail: sakonsangpradub@gmail.com
บทคัดย่อ (EN): Apparent protein digestibility coefficient of plant protein ingredients by giant tiger prawn Penaeus monodon (Fabricius, 1798) and asian sea bass Lates calcarifer (Bloch, 1790) Sakon Sangpradub1 *Nongluk Samranraat 1 Kamonrat Youngjarean1 Pichet Plaipetch2 * and Piyarom Kongkhum1 1 Coastal Aqua-feed Research Institute 2 Inland Aquaculture Research Institute The apparent dry matter digestibility coefficient (ADMD) and apparent protein digestibility coefficient (APD) of 12 feedstuffs were determined for both giant tiger prawn (Penaues monodon). and Asian sea bass ( Lates calcarifer). These feedstuffs consisted of sunflower meal (SFM), horse radish leaves meal (HRLM), cassava leaves meal (CLM), white popinac leaves meal (WPLM), sea lettuce meal (SLM), spiny seaweed meal (SSM), adjusted pH sunflower meal (ASFM), adjusted pH horse radish leaves meal (AHRLM), adjusted pH cassava leaves meal (ACLM), adjusted pH white popinac leaves meal (AWPLM), adjusted pH sea lettuce meal (ASLM) and adjusted pH spiny seaweed meal (ASSM). In the first experiment, shrimp with initial body weight of 7.43 g were fed with reference diet (fish meal as protein source) and 12 test diets containing 70% reference diet and 30% tested ingredient for 11 weeks. The results showed that the ADMDs ranged from 34.25% to 79.18%. The ADMDs of SLM and SSM were more efficiently digested than other tested feedstuffs. The APDs ranged from 30.15% to 78.60% and APDs for SLM and ASLM were higher than the values for other tested feedstuffs. The giant tiger prawn fed with SSM, ASFM, SFM, WPLM, HRLM and CLM test diets had higher weight gain than those fed with other test diets. The shrimp fed with ASSM, SFM, CLM, AHRLM, SLM and HRLM test diet higher survival rate than those OF FISH fed with other test diets. The second experiment, fish with initial body weight of 14.56 g were fed with the diets containing feedstuffs as tested in giant tiger prawn for 5 weeks. The results showed that ADMD values of fish ranged from 41.13% to 78.66%. The ADMDs of SLM, ACLM, ASLM and SSM were more efficiently digested than other feedstuffs. The APD values ranged from 33.93% to 85.32% and APDs of ASFM, SLM, SFM and HRLM were higher than the values for other tested feedstuffs. Among the test diets groups, Asian sea bass fed with SFM, AWPLM, SLM, WPLM, ASFM, CLM, HRLM and ACLM test diets had higher weight gain than those of fish fed with other test diets. However, there were non-significant differences in survival among the test fish groups. Key words: feed ingredient, apparent protein digestibility, giant tiger prawn, sea bass *41/14 Moo 9, Bangpra Sub-district, Sriracha District, Chonburi Province 20110 Tel. 0 3831 2532 e-mail: sakonsangpradub@gmail.com
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบโปรตีนจากพืชในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricus, 1798) และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790)
กรมประมง
31 มีนาคม 2557
กรมประมง
การแทนที่ปลาป่นด้วยวัตถุดิบโปรตีนจากพืชที่มีศักยภาพในอาหารสำหรับกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricius, 1798) ผลของการเสริม Phytase ต่อการดูดซึมและสะสมแร่ธาตุในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) กุ้งกุลาดํา (Penaeus monodon Fabricius, 1798) และปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การศึกษาลักษณะสมบัติและการแสดงออกของยีน asialoglycoprotein receptor จากกุ้งกุลาดำPenaeus monodon การเสริมกรดอะมิโนจำเป็นบางชนิดในสูตรอาหารปลากะพงขาว กุ้งขาวและกุ้งกุลาดำที่มีการใช้โปรตีนพืชในอัตราสูง การใช้ตะกอนน้ำนึ่งปลาทูน่าเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลัก สำหรับเลี้ยงปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) และกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) สำเร็จรูป การใช้โปรตีนเข้มข้นทดแทนปลาป่นในอาหารสำหรับปลากะพงขาว (Lates calcarifer) การแทนที่ปลาป่นด้วยแพลงก์ตอนสัตว์ในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การยอมรับเชื้อ Streptococcus agalactiae ที่แยกจากปลากะพงขาว(Lates calcarifer Bloch,1790) ในปลาเศรษฐกิจบางชนิด ผลของระยะเวลาและการเสริมเบต้ากลูแคน ( ß - Glucan) ที่ระดับต่างกันในปลากะพงขาว ( Lates calcarifer, Bloch 1790)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก