สืบค้นงานวิจัย
แนวทางการกำหนดเขตพื้นที่ทำการประมงในน่านน้ำไทย
เพราลัย นุชหมอน, เพราลัย นุชหมอน - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: แนวทางการกำหนดเขตพื้นที่ทำการประมงในน่านน้ำไทย
ชื่อเรื่อง (EN): The course of fishery zonation in Thai waters
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: บริเวณชายฝั่งทะเลของอ่าวไทยและทะเลอันดามันมีแม่น้ าที่ไหลลงสู่ทะเล โดยจะพัดพาธาตุ อาหารมาสู่ทะเล ท าให้บริเวณปากแม่น้ าเป็นป่าชายเลน เป็นแหล่งหลบภัย เลี้ยงตัววัยอ่อนและแพร่ขยายพันธุ์ ของสัตว์น้ านานาชนิด เช่น ปลา กุ้ง ปู หอย และสัตว์พื้นทะเลชนิดต่างๆ ซึ่งอาจมีช่วงชีวิตตลอดอายุขัย หรือมี การเคลื่อนย้ายออกไประยะตัวเต็มวัย สัตว์เหล่านี้มีความส าคัญต่อระบบนิเวศชายฝั่ง เป็นแหล่งให้เกิดพลังงาน อาหาร ประชากรพืชและสัตว์ซึ่งผสมกันอยู่ และหมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ก่อให้เกิดแหล่งอาหารอุดมสมบูรณ์ และให้ผลผลิตสูงโดยเฉพาะกลุ่มสัตว์น้ า การเคลื่อนย้ายพลังงานจากพืชและสัตว์น้ าชั้นต่ าไปสู่ขั้นที่สูงขึ้น (ตัวห้ า และเหยื่อ) ก่อให้เกิดความซับซ้อนของทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะเดียวกันการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร สัตว์น้ าชายฝั่งโดยชุมชนประมงชายฝั่งทั้งทางด้านประมงพาณิชย์ หรือประมงพื้นบ้านก็ก่อให้เกิดผลกระทบกับ ทรัพยากรสัตว์น้ าและระบบนิเวศ ท าให้เกิดความเสื่อมโทรมลง กรมประมงตระหนักถึงความจ าเป็นของการ จัดการทรัพยากรสัตว์น้ าเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างก าลังการผลิตของทรัพยากรสัตว์น้ ากับจ านวน เรือประมง และได้ด าเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับวางนโยบายตลอดจนแนวทางต่างๆ เพื่อให้การพัฒนาประมงทะเลเป็นไปอย่างราบรื่น และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อส่วนรวม จึงมีความจ าเป็นที่ จักต้องท าการวิจัยเพื่อให้ได้ข้อมูลมายืนยันในการก าหนดเขตการท าประมงเพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่าง คุ้มค่าและยั่งยืนโดยชุดโครงการวิจัยแนวทางก าหนดเขตพื้นที่ท าการประมงในน่านน้ าไทย ด าเนินการระหว่าง ปีงบประมาณ 2553-2555 ซึ่งภายใต้ชุดโครงการฯ มีโครงการย่อย 9 เรื่อง ดังนี้ สภาวะแวดล้อมในแหล่งประมงเขตชายฝั่งอ่าวไทย และทะเลอันดามัน ครอบคลุมถึงสภาวะ แวดล้อมทั่วไป ได้แก่ ความลึก ความโปร่งใส อุณหภูมิ ความเค็ม ความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณออกซิเจนที่ ละลายในน้ า และสารแขวนลอยทั้งหมด ปริมาณธาตุอาหาร ได้แก่ ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส (PO4 -P) ไนไตรท์- ไนโตรเจน (NO2 -N) ไนเตรท-ไนโตรเจน (NO3 -N) และแอมโมเนีย-ไนโตรเจน (NH3 -N) และแพลงก์ตอนสัตว์ พบว่าสภาวะแวดล้อมในแหล่งประมงเขตชายฝั่งทะเลอ่าวไทย และทะเลอันดามัน ทั้ง 3 ช่วงระยะห่างฝั่ง (1.6- 3.0, 3.0-5.0 และ 5.0-10.0 ไมล์ทะเล) มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์น้ า ซึ่งมีค่าอยู่ในเกณฑ์ปกติเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ าทะเลเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ที่ก าหนด โดยส านักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติและพบว่าความชุกชุมของเพลงก์ตอนสัตว์ในแต่ละช่วงระยะ ห่างฝั่งไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) องค์ประกอบชนิดของปลาวัยอ่อนรวมทั้งหมดบริเวณอ่าวไทย พบ 52 วงศ์เป็นปลาวัยอ่อนที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ 22 วงศ์ วงศ์ที่พบมาก ได้แก่ วงศ์ปลากะตัก และปลาหลังเขียว ส่วนฝั่งทะเลอันดามันพบปลาวัยอ่อนทั้งหมด 51 วงศ์ เป็นปลาวัยอ่อนที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ 30 วงศ์ วงศ์ที่พบมาก ได้แก่ วงศ์ปลากะตัก ปลาสีกุน และปลาทรายแดง ตามล าดับ เมื่อพิจารณาตามช่วงระยะห่างฝั่ง ในบริเวณอ่าวไทยพบปลาวัยอ่อนในช่วงห่างฝั่ง 5.0-10.0 ไมล์ทะเล มากที่สุด จ านวน 46 วงศ์ รองลงมา ได้แก่ ช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 และ 1.6-3.0 ไมล์ทะเล จ านวน 45 และ 41 วงศ์ตามล าดับ ในส่วนของชายฝั่งทะเลอันดามัน พบปลาวัยอ่อนมากที่สุดในช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 ไมล์ทะเล จ านวน 46 วงศ์ รองลงมา ได้แก่ ช่วงห่างฝั่ง 1.6-3.0 และ 5.0-10.0 ไมล์ทะเล จ านวน 42 และ 40 วงศ์ ตามล าดับ ความชุกชุมของปลาวัยอ่อนที่มีความส าคัญทาง 2 เศรษฐกิจรวมทุกวงศ์ในเขตชายฝั่งอ่าวไทย พบเฉลี่ย 153 ตัวต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร โดยมีปริมาณมากที่สุด ในช่วงห่างฝั่ง 5.0-10.0 ไมล์ทะเล เฉลี่ย 187 ตัวต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร รองลงมา ได้แก่ ในช่วงห่างฝั่ง 1.6- 3.0 และ 3.0-5.0 ไมล์ทะเล เฉลี่ย 149 และ 123 ตัวต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร ตามล าดับ ฝั่งทะเลอันดามันพบ เฉลี่ย 79 ตัวต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร ชุกชุมมากที่สุดในช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 ไมล์ทะเล เฉลี่ย 86 ตัวต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร รองลงมา ได้แก่ ช่วงห่างฝั่ง 5.0-10.0 และ 1.6-3.0ไมล์ทะเล เฉลี่ย 78 และ 71 ตัวต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชุกชุมของปลาวัยอ่อนที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจรวม ทุกวงศ์ทั้ง 3 ช่วงห่างฝั่ง ในบริเวณอ่าวไทย และทะเลอันดามัน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ าในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเล จากเรือส ารวจ ในบริเวณอ่าวไทยพบมีอัตรา การจับสัตว์น้ าในเขตชายฝั่งทั้งหมดเฉลี่ย เท่ากับ 27.56 กก./ชม. ประกอบด้วยกลุ่มปลาเป็ดแท้สูงสุด ร้อยละ 50.76 รองลงมา คือ กลุ่มปลาหน้าดิน ร้อยละ 21.29 ปลาหมึก ร้อยละ 14.33 ปลาผิวน้ า ร้อยละ 6.05 สัตว์น้ า เศรษฐกิจอื่นๆ ร้อยละ 4.34 ปูร้อยละ 2.88 และกุ้งร้อยละ 0.35 โดยพบว่ามีอัตราการจับเฉลี่ยของสัตว์น้ า สูงสุดในช่วงห่างฝั่ง 1.6-3.0 ไมล์ทะเล เท่ากับ 31.76 กก./ชม. รองลงมา คือช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 และ 5.0-10.0 ไมล์ทะเล มีอัตราการจับเฉลี่ย เท่ากับ 26.41 และ 24.99 กก./ชม. ส าหรับฝั่งทะเลอันดามันพบมีอัตราการจับ สัตว์น้ าทั้งหมด เฉลี่ย 51.97 กก./ชม. ประกอบด้วยกลุ่มปลาหน้าดินสูงที่สุด ร้อยละ 59.33 รองลงมา คือ กลุ่ม ปลาเป็ดแท้ กลุ่มปลาผิวน้ า กลุ่มปลาหมึก กลุ่มปู กลุ่มสัตว์น้ าเศรษฐกิจอื่นๆ และกลุ่มกุ้ง ร้อยละ 19.75 10.90 8.62 0.56 0.53 และ 0.31 ตามล าดับ โดยในช่วงห่างฝั่ง 1.6-3.0 ไมล์ทะเล มีอัตราการจับสัตว์น้ า ทั้งหมดสูงสุด เท่ากับ 64.22 กก./ชม. รองลงมา คือ ช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 และ 5.0-10.0 ไมล์ทะเล เท่ากับ 47.75 และ 44.15 กก./ชม. ตามล าดับ อัตราการจับสัตว์น้ าทั้งหมดเฉลี่ยทั้ง 3 ช่วงห่างฝั่ง ในบริเวณอ่าวไทย และฝั่งทะเลอันดามันไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) เมื่อพิจารณาการกระจายขนาดความยาวสัตว์น้ า ชนิดที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ พบว่าที่ระยะห่างฝั่ง 1.6-3.0 ไมล์ทะเล ส่วนใหญ่มีขนาดความยาวต่ ากว่า ความยาวแรกสืบพันธุ์ในสัดส่วนที่สูงกว่าระยะห่างฝั่งอื่นๆ สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ าจากการประมงพื้นบ้านทางฝั่งทะเลอันดามัน พบเครื่องมือประมงที่ ชาวประมงพื้นบ้านใช้หลักๆ ได้แก่ อวนจมปู อวนจมกุ้ง อวนลอยปลาทู อวนจมปลาเห็ดโคน ลอบปู และ ลอบหมึก มีแหล่งประมงที่ส าคัญบริเวณใกล้เกาะต่างๆ แนวกองหิน และปะการัง ตลอดแนวชายฝั่งทะเล อันดามัน ระดับน้ าทะเลลึก 5-25 เมตร โดยการลงแรงประมงของเครื่องมือแต่ละชนิดในแต่ละจังหวัดมีความ แตกต่างกัน แต่จะท าการประมงหนาแน่นในช่วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเหมือนกัน ส าหรับอัตราการจับ สัตว์น้ า องค์ประกอบชนิด และขนาดของสัตว์น้ า ตลอดจนรายได้จากการท าประมง พบว่าอวนจมปูมีอัตราการ จับสัตว์น้ าเฉลี่ย 0.83 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว์น้ าที่จับได้มากและเป็นเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มปู ร้อยละ 68.18 โดยชนิดที่จับได้มาก คือ ปูม้า ขนาดปูม้าที่จับได้มีขนาดความกว้างกระดอง เฉลี่ย 12.67 เซนติเมตร มี รายได้เฉลี่ยเหนือต้นทุนเงินสดจากการขายปูม้า 904.69 บาท/เที่ยว อวนจมกุ้งมีอัตราการจับสัตว์น้ าเฉลี่ย1.40 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว์น้ าที่จับได้มากที่สุด คือ กลุ่มกุ้ง ร้อยละ 53.50 ชนิดกุ้งที่พบมาก คือ กุ้งแชบ๊วย ขนาดกุ้งแชบ๊วยที่จับได้มีขนาดความยาวตลอดตัว เฉลี่ย 11.49 เซนติเมตร มีรายได้เฉลี่ยเหนือต้นทุนเงินสด จากการขายกุ้งแชบ๊วย 729.13 บาท/เที่ยว อวนลอยปลาทูมีอัตราการจับสัตว์น้ าเฉลี่ย 3.53 กิโลกรัม/อวน 100 3 เมตร สัตว์น้ าที่จับได้มากที่สุด คือ กลุ่มปลาผิวน้ า ร้อยละ 81.05 ชนิดที่พบมาก คือ ปลาทู ขนาดปลาทูที่จับได้ มีขนาดความยาวตลอดตัว เฉลี่ย 17.14 เซนติเมตร มีรายได้เฉลี่ยเหนือต้นทุนเงินสดจากการขายปลาทู 467.82 บาท/เที่ยว อวนจมปลาเห็ดโคนมีอัตราการจับสัตว์น้ าเฉลี่ย 1.12 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว์น้ าที่จับได้มาก ที่สุด คือ กลุ่มปลาหน้าดิน ร้อยละ 94.36 ชนิดที่จับได้มาก คือ ปลาเห็ดโคน ขนาดปลาเห็ดโคนที่จับได้มีขนาด ความยาวตลอดตัว เฉลี่ย 15.76 เซนติเมตร มีรายได้เฉลี่ยเหนือต้นทุนเงินสดจากการขายปลาเห็ดโคน 1,243.60 บาท/เที่ยว ลอบปูมีอัตราการจับสัตว์น้ าเฉลี่ย 0.91 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก สัตว์น้ าที่จับได้มากที่สุด คือ กลุ่มปู ร้อยละ 97.25 ชนิดที่จับได้มาก คือ ปูม้า ขนาดปูม้าที่จับได้มีขนาดความกว้างกระดอง เฉลี่ย 11.45 เซนติเมตร มีรายได้เฉลี่ยเหนือต้นทุนเงินสดจากการขายปูม้า 2,658.35 บาท/เที่ยว ลอบหมึกมีอัตราการจับ สัตว์น้ าเฉลี่ย 3.98 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก สัตว์น้ าที่จับได้มากที่สุด คือ กลุ่มปลาหมึก ร้อยละ 98.15 ชนิดที่จับ ได้มาก คือ หมึกหอม ขนาดหมึกหอมที่จับได้มีขนาดความยาวล าตัว เฉลี่ย 17.73 เซนติเมตร มีรายได้เฉลี่ย เหนือต้นทุนเงินสดจากการขายหมึกหอม 675.53 บาท/เที่ยว ส าหรับอัตราการจับเฉลี่ยตามเขตระยะห่างฝั่ง ของเครื่องมือประมงพื้นบ้านแต่ละชนิด พบว่าส่วนใหญ่แสดงความแตกต่างที่ไม่ชัดเจน แต่พบว่าการกระจาย ขนาดสัตว์น้ าจะมีในสัดส่วนของสัตว์น้ าที่มีขนาดใหญ่มากขึ้นตามระยะห่างฝั่ง ส าหรับสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ า จากการประมงพาณิชย์บริเวณทะเลอันดามัน พบว่าเรืออวนล้อมจับปั่นไฟ มีแหล่งท าการประมงส่วนใหญ่ ในช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 ไมล์ทะเล อวนด ามีแหล่งท าการประมงส่วนใหญ่ในช่วงห่างฝั่ง 0.0-1.6 ไมล์ทะเล อวนล้อมซั้งมีแหล่งท าการประมงส่วนใหญ่ในช่วงห่างฝั่ง 5.0-10.0 ไมล์ทะเล อวนเขียวมีแหล่งท าการประมง ส่วนใหญ่ในช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 และ 5.0-10.0 ไมล์ทะเล อวนตังเกมีแหล่งท าการประมงส่วนใหญ่ในช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 ไมล์ทะเล อวนครอบปลากะตักปั่นไฟขนาด >14 เมตร มีแหล่งท าการประมงส่วนใหญ่ในช่วงห่างฝั่ง 1.6-3.0 ไมล์ทะเล และอวนครอบปลากะตักปั่นไฟขนาด 14 เมตร มีอัตราการจับเฉลี่ยสูงสุด ในช่วงห่างฝั่ง 3.0-5.0 ไมล์ทะเล เท่ากับ 2,404 กก./วัน และอวนครอบปลากะตักปั่นไฟขนาด 14 เมตร ส่วนใหญ่ ประกอบด้วยกลุ่มปลาผิวน้ า กลุ่มปลาเป็ด และกลุ่มปลาหน้าดิน ร้อยละ 92.58 4.37 และ 2.60 ตามล าดับ ที่ เหลือเป็นสัตว์น้ าอื่นๆ และผลจับสัตว์น้ าจากอวนครอบปลากะตักปั่นไฟขนาด <14 เมตร ส่วนใหญ่ประกอบด้วย กลุ่มปลาผิวน้ า กลุ่มปลาหน้าดิน และกลุ่มปลาหมึก ร้อยละ 76.40 18.34 และ 5.19 ตามล าดับ ที่เหลือเป็น สัตว์น้ าอื่นๆ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-06-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/291415
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
แนวทางการกำหนดเขตพื้นที่ทำการประมงในน่านน้ำไทย
กรมประมง
30 มิถุนายน 2555
เอกสารแนบ 1
กรมประมง
สภาวะการทำประมงลอบหมึกในน่านน้ำไทย ชีวประมงของปลากะตักในน่านน้ำไทย การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียม VIIRS เพื่อศึกษาการทำประมงประกอบแสงไฟในน่านน้ำไทย ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกที่มีต่อระบบนิเวศแนวปะการังและมาตรการในการฟื้นฟูแนวปะการังในน่านน้ำไทย ความสมบูรณ์เพศของสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่สำคัญเขตทะเลชายฝั่งในน่านน้ำไทย ทรัพยากรปลาโอในน่านน้ำไทย ศักยภาพของพื้นที่ในการจัดสร้างปะการังเทียมเพื่อการประมง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำทะเลในแหล่งประมงบริเวณน่านน้ำไทย ในรอบทศวรรษ (พ.ศ. 2546-2556) เนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาผิวน้ำในน่านน้ำไทย การประมงหมึกสายในน่านน้ำไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก