สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ
การยางแห่งประเทศไทย - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ
ชื่อเรื่อง (EN): Improvement of analytical technique for Soluble protein Content in natural Rubber products
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: การยางแห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในถุงมือแพทย์ เป็นแนวทางดำเนินการโดยใช้ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาง 3 ชนิด คือ ผลิตภัณฑ์เส้นด้ายยืดทั้งแบบกลมที่ผลิตจากน้ำยางข้น และแบบเหลี่ยมที่ผลิตจากยางแห้ง ผลิตภัณฑ์ถุงยางอนามัย และผลิตภัณฑ์หัวนมเด็ก การทดลองนี้ศึกษาปัจจัยที่อาจมีผลต่อความแปรปรวนของการวิเคราะห์ เช่นปริมาณตัวอย่างที่ใช้ รูปแบบการเตรียมตัวอย่าง อัตราส่วนปริมาณสารสกัด ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า วิธีวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในถุงมือยางทางการแพทย์จากยางธรรมชาติ สามารถนำมาปรับใช้ในการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ โดยผลิตภัณฑ์นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในระดับสูงกว่า 50 ไมโครกรัมต่อกรัม และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่เคลือบสารหล่อลื่น หรือสารอื่นที่อาจเป็นอุปสรรคในการสกัดด้วยน้ำ ผลการวิเคราะห์เชื่อถือได้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ
การยางแห่งประเทศไทย
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
วิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในถุงมือแพทย์จากยางธรรมชาติ การหาปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในถุงยางอนามัย ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในถุงมือยางทางการแพทย์หลังผ่านการฉายรังสี การแปรรูปน้ำยางผสมของยางธรรมชาติกับยางสังเคราะห์ การวิเคราะห์ระบบนิเวศเกษตร การใช้สารพลาสติกไซเซอร์เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของพลาสติกย่อยสลายได้ที่ผลิตจากโปรตีนที่ละลายน้ำของเนื้อปลา อิทธิพลของสารเคมีต่อปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในน้ำยางผสมสารเคมี การประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเมทธิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง การประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเมทธิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง การพัฒนาวัสดุและออกแบบผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติสำหรับยางรองหมอนรถไฟ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก