สืบค้นงานวิจัย
“สัตว์พื้นเมือง” มรดกล้ำค่าทางชีววิทยาในสถานการณ์ใกล้สูญพันธุ์
เทวินทร์ วงษ์พระลับ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: “สัตว์พื้นเมือง” มรดกล้ำค่าทางชีววิทยาในสถานการณ์ใกล้สูญพันธุ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เทวินทร์ วงษ์พระลับ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: กระแสคลื่นโลกาภิวัฒน์ได้ถาโถมส่งผลกระทบทั้งด้านบวกและลบ ทั้งทางด้านชีวภาพและสังคมของประเทศ หากไม่เข้มแข็งไม่มีรากเหง้าทางความคิดที่แข็งแกร่งพอก็จะถูกคลื่นทุนนิยมใหม่แห่งโลกาภิวัฒน์กวาดต้อนปราศนาการไปในที่สุด ทำอย่างไรจึงจะอยู่ได้อย่างมีความสุขและมีศักดิ์ศรีท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกในประเด็นการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมืองไม่ได้มีเป้าหมายสุดโต่งที่จะเรียกร้องให้ทุกวิสาหกิจผลิตสัตว์พื้นเมือง แต่อยากให้มีความเข้าใจและมองเห็นคุณค่ามรดกล้ำค่าทางพันธุกรรมเหล่านี้ แปรความเข้าใจและมองเห็นคุณค่มาเป็นความร่วมมือ มีการปฏิบัติจริงของทุกภาคส่วน เพื่อให้มีการคงอยู่และมีการใช้ประโยชน์สัตว์พื้นเมืองเพื่อมวลมนุษยชาติอย่างชาญฉลาด
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=01-Thevin.pdf&id=164&keeptrack=5
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
“สัตว์พื้นเมือง” มรดกล้ำค่าทางชีววิทยาในสถานการณ์ใกล้สูญพันธุ์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2551
เอกสารแนบ 1
การพัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงหอยตลับ (Meretrix meretrix) เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการศึกษาชีววิทยาบางประการที่เกี่ยวข้อง การศึกษาลักษณะทางคาริโอไทป์ ชีววิทยาโลหิต และ ไซโตเคมี ระดับมหภาค และระดับจุลทรรศน์อิเลคตรอนของเต่าบัว (Hieremys annandalii) ของประเทศไทยเพื่อการอนุรักษ์ ลักษณะทางคาริโอไทป์ ชีววิทยาโลหิต และไซโตเคมี ระดับมหภาค และระดับจุลทรรศน์อิเลคตรอนของเม็ดเลือดในเต่าบัว (Hieremys annandalii) ของประเทศไทยเพื่อการอนุรักษ์ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูชะนีที่ถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ใกล้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว จ. จันทบุรี และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลุ่มน้ำปาย จ. แม่ฮ่องสอน ชีววิทยาบางประการของปลาชะโด ชีววิทยาเพื่อการเพาะพันธุ์ของปลารากกล้วยในแม่น้ำวัง จังหวัดลำปาง(ชีววิทยาบางประการของปลารากกล้วยในแม่น้ำวังจังหวัดลำปาง) ชีววิทยาบางประการของปลาดุกด้านในจังหวัดพิจิตร การอนุรักษ์พันธุกรรมข้าวป่าใกล้สูญพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ ชีววิทยาบางประการของกบอ๋องข้างลายในจังหวัดเชียงใหม่ โครงการวิจัยการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการใกล้สูญพันธุ์ของพืชอนุรักษ์ก่อนการออกหนังสืออนุญาตส่งออก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก