สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาเทคนิค Multiplex PCR เพื่อตรวจสอบอุบัติการณ์การติดเชื้อและการจำแนกพยาธิใบไม้ Opisthorchis viverrini และ Haplorchis taichui ในปลาเกล็ดขาว และในคน
รศ.ดร. ชโลบล วงศ์สวัสดิ์ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาเทคนิค Multiplex PCR เพื่อตรวจสอบอุบัติการณ์การติดเชื้อและการจำแนกพยาธิใบไม้ Opisthorchis viverrini และ Haplorchis taichui ในปลาเกล็ดขาว และในคน
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Multiplex PCR for the Occurrence Determination and Identification of the Trematodes,Opisthorchis viverrini and Haplorchis taichui in cyprinoid fish and Human
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รศ.ดร. ชโลบล วงศ์สวัสดิ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โรคที่เกิดจากการติดพยาธิใบไม้ตับ Opishorchis werini และพยาธิใบไม้สำไส้ขนาดเล็ก H. taichui ขังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณะสุข โดยเฉพาะในเขตภาคอีสาน และภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทย ซึ่งต้องการวิธีการตรวจสอบที่ถูกต้อง แม่นอำ และเฉพาะเจะจง เพื่อการวางแผนควบคุม การระบาดที่มีประสิทธิภาพ การศึกษาครั้งนี้ จึงใส้ทำการ หาตัวติคตามของพยาธิใบไม้ O. viverini และ H. tichui โดยใช้ทคนิด HAT-RAPD PCR ร่วมกับ arbitrary primers 14 ชนิด (Operon Technologies) เพื่อทดสอบหา HAT-RAPD marker ที่มีความจำเพาะต่อพยาธิ ทั้งสองชนิด ผลการทดสอบ พบว่า primer OPA-04 สามารถทำให้เกิด HAT-RAPD manker ขบาด 330 bp ที่มีความจำเพาะต่อพยาธิ . vverrini แล: primer OPp-11 สามารถทำให้เกิด HAT-RAPD manker ขนาด 260 bp ที่มีความจำเพาะต่อ พยาธิ H. taichui จากข้อมูลลำดับนิวคโอไทด์ ได้ออกแบบ specific primers โดยใช้โปรแกรม Genetyx - MAC ver. 11 เพื่อใช้ตรวจสอบพยาธิชนิดดังกล่าว คังนี้ specific primers ของพยาธิ H. taichi ให้ PCR product ขนาด 180 bp มีลำคับนิวคสีโอไทศั ดังนี้ คือ HaptF 5.- GGCCAACGCAATCGTCATCC-3 และ Hapt R 5-CTCTCGACCTCCTCTAGAAT-3* ส่วน specific primers ของพยาธิใบไม้ดับ 0. vverin ให้ PCR product ขนาคด 330 bp มีลำดับนิวคสึ โอไทค์ ดังนี้ คือ OpV-IF: 5-AATCGGGCTGCATATTGACCGAT-3 และ OpV-1R: 5-CGGTGTTGCTTA TTTTGCAGACAA-3 เมื่อนำ specific primers ทั้งสองคู่ ไปทดสอบกับตัวอย่างพยาธิชนิดอื่น พบว่า สามารถกิดแถบ ดีเอ็นเอ ขนาค 330 bp ในตัวอย่างพยาธิ 0. viverini และ 180 bp ในตัวอย่างพยาธิ H. taich โดยไม่เกิดปฏิกิริยาข้ามกับตัวอย่างพยาธิชนิดอื่นๆ และเงื่อนไขในการทำ PCR เหมือนปกติ แต่ปรับอุณหภูมิในช่วง annealing เป็น 68C และใช้ MgCI , 0.5 mM จากการทคลองตรวจสอบกับตัว อ่อนพยาธิใบไม้ที่พบในหอย ปลา และระยะไข่ที่พบในอุจจาระ พบว่าสามารถเกิดแถบศีเอ็นเอขนาด 330 และ 180 bp จากตัวอย่างอุจจาระที่มีการติดพยาชิทั้งสองชนิดนี้ร่วมกันไส้ ผลการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ในการติดตามตร วจสอบการร ระบาดของพยาธิ O. verini และ H. taichu ได้อย่าง สมบูรณ์ ทั้งในโฮสต์กึ่งกลาง และโฮสต์เฉพาะ ซึ่งจะเป็นประ โยชน์ในการวางแผนจัดการ ตรวจสอบ และป้องกันการระบาคของพยาธิต่อไปได้ จากแบบสอบถามอาจกล่าวได้ว่า การ ไว้รับ ข่วสารข้อมูลอย่งต่อเนื่อง ทำให้ชาวบ้านมีการตื่นกลัวต่อการติดพยาธิแต่ก็ยังไม่ละทิ้งวิถีชีวิต และ วัฒนธรรมในการบริ โภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการติดพยาธิ ในขณะเดียวกันก็ยังมีการป้องกันและรักษา ตัวเอง โดยการตรวจการติดพยาธิจากอุจจาระ และกินยาอำยพยาธิเป็นระยะ1 ซึ่งยังคงมีความเสี่ยงต่อการ ติดพยาธิ แต่อย่างไรก็ การนำเสบอผลการวิจัย และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้สู่ชาวบ้าน จะเป็นการสร้าง โอกาสและวิธีการในการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด
บทคัดย่อ (EN): Diseases caused by the liver fluke, Opisthorchis viverrini and minute intestinal tluke, Haplorchis taichi are considered to have clinical importance especially in the northeastern and northern regions of Thailand. A sensitive, accuracy and specific detection of these flukes is required for the effective epidemiological control program. Hence, specific primers for the detection of O. viverrini and H. taichui were investigated in this study by using HAT-RAPD PCR method and 14 arbitrary primers (Operon Technologies) were also performed for the generation of polymorphic DNA profiles. The result showed that, a 330 bp fragment generated from OPA-04 primer was expected to be O. viverrini-specific while a 260 bp fragment generated from OPP-11 primer was considered to be H. taichui- specific. Based on the sequence data of each fragment, 2 pairs of specific primers were designed with Genetyx-MAC ver.11 software. The sequences of H. taichui-specific primers were indicated as follows: Hapt F5-GGCCAACGCAATCGTCATCC-3 which can yield a 180 bp PCR product whereas the sequences of O. viverrini-specific primers were OpV-1F:5- AATCGGGCTGCATATTGACCGAT-3 and OpV-1R: 5 -CGGTGTTGCTTATTTTGCAGACAA-3 which can generate a 330 bp PCR product. These specific primers were tested for efficacy and specific detection by applying to amplified with all 13 parasites DNA samples as described above. The result showed that, a 256 bp was generated as same as give positive result in only H. taichu sample and have no cross-reaction with any testing parasites. However, PCR conditions must be recommended by it should be taken at 68 "C annealing temperature and 0.937 mM magnesium chloride (Mg C1.). By the way, the minimum DNA template needed was 1 fg (femtogram) and at least I egg was needed as same as give positive result for the detection by PCR in human s stool specimens contaminated with H. taichui s eggs. The H. taichui - specific primers with succesfully developed in this study can be use in several applications base on epidemiological monitoring and detection in either intermediate host or definitive host which usefulness for preventing management and epidemiological control program.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาเทคนิค Multiplex PCR เพื่อตรวจสอบอุบัติการณ์การติดเชื้อและการจำแนกพยาธิใบไม้ Opisthorchis viverrini และ Haplorchis taichui ในปลาเกล็ดขาว และในคน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
30 กันยายน 2552
การติดเชื้อตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรียของหอยน้ำจืดวงศ์ Thiaridae ในประเทศไทย การพัฒนาเทคนิคELISAในการตรวจสอบเชื้อBmNPV การประยุกต์ใช้เทคนิค Multiplex PCR ในการจำแนกเชื้อ Bacillus thuringiensis จาก Bacillus cereus group การพัฒนาชุดทดสอบเพื่อวินิจฉัยสภาวะการติดเชื้อเลปโตสไปร่าและ serovars ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในปศุสัตว์ การพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบคุณภาพยางก้อนถ้วยแบบรวดเร็ว การพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจสอบปริมาณความชื้นของไม้ยางพาราแปรรูปด้วยเทคนิคแบบไม่ทำลาย 002 การจำแนกไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne spp. บางไอโซเลทของไทย โดยเทคนิค PCR การเจริญของเชื้อ Macrophomina phaseolina ในส่วนต่าง ๆ ของพืชภายหลังการติดเชื้อของราก การพัฒนาเทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่พีซีอาร์ในการจำแนกเพศนกแก้วปากขอ การใช้เทคนิค PCR ตรวจสอบลักษณะพันธุกรรม Malignant Hyperthermia ในสุกรพันธุ์เปียแตรง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก