สืบค้นงานวิจัย
ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีต่ผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette (ชื่อเดิม : ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยอินทรีย์น้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette)
ดาวยศ นิลนนท์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีต่ผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette (ชื่อเดิม : ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยอินทรีย์น้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette)
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Organic Fertilizer and Chemical Fertilizer on Yield and Quality of ‘Perlette’ Grape. (Effect of Organic Fertilizer to Yield and Quality of ‘Perlette’ Grape.)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ดาวยศ นิลนนท์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษา ผลของปุ๊ยอินทรีย์กุณภาพสูงและ น้ำหมักชีวภาพ ต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ ?Perlette คำเนินการทคลองที่สถานีวิจัยกาญจนบุรี ตำบลวังคัง อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ทำการ ทดลองตั้งแต่เดือนมกราคม 2551 ถึง กันยายน 2553 โดยดำเนินการศึกษา ผลของปุ๊ยอินทรีย์คุณภาพสูงและ น้ำหมักชีวกาพ ต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธ์ Perlette วางแผนการทคลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 6 ตำรับการทดลอง 4 ซ้ำ คือ 1. ไม่ใส่ปุ๋ย 2. ใส่ปุ๊ยเคมีทางระบบ น้ำหยดปริมาณ 34-36-32 กรัม N-P.0, K.0 ต่อต้น อัตรา 200 กรัมต่อต้น 3. ใส่ปุ๊ยเคมีทางระบบน้ำหยด ปริมาณ 34-36-32 กรัม N-P.0.-K.0 ต่อต้น อัตรา 200 กรัมต่อต้น ร่วมกับการใส่น้ำหมักชีวภาพจากปลาเจือ จาง 1:200 อัตรา ร ลิตรต่อต้น 4. ใส่ปุ้ยเดมีทางระบบน้ำหยดปริมาณ 34-36-32 กรัม N-P.0,-K.0 ต่อต้น อัตรา 100 กรัมต่อต้นร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 2.5 กิโลกรัมต่อต้น 5. ใส่ปุ้ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา ร กิโลกรัมต่อต้น และ 6. ใส่ปุ๊ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับใส่น้ำหมักชีวภาพ จากปลาเจือจาง 1:200 อัตรา 5 ลิตรต่อต้นการศึกษา ผลของปุ๊ยอินทรีย์กุณภาพสูงและ น้ำหมักชีวภาพ ต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ ?Perlette คำเนินการทคลองที่สถานีวิจัยกาญจนบุรี ตำบลวังคัง อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ทำการ ทดลองตั้งแต่เดือนมกราคม 2551 ถึง กันยายน 2553 โดยดำเนินการศึกษา ผลของปุ๊ยอินทรีย์คุณภาพสูงและ น้ำหมักชีวกาพ ต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธ์ Perlette วางแผนการทคลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 6 ตำรับการทดลอง 4 ซ้ำ คือ 1. ไม่ใส่ปุ๋ย 2. ใส่ปุ๊ยเคมีทางระบบ น้ำหยดปริมาณ 34-36-32 กรัม N-P.0, K.0 ต่อต้น อัตรา 200 กรัมต่อต้น 3. ใส่ปุ๊ยเคมีทางระบบน้ำหยด ปริมาณ 34-36-32 กรัม N-P.0.-K.0 ต่อต้น อัตรา 200 กรัมต่อต้น ร่วมกับการใส่น้ำหมักชีวภาพจากปลาเจือ จาง 1:200 อัตรา ร ลิตรต่อต้น 4. ใส่ปุ้ยเดมีทางระบบน้ำหยดปริมาณ 34-36-32 กรัม N-P.0,-K.0 ต่อต้น อัตรา 100 กรัมต่อต้นร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 2.5 กิโลกรัมต่อต้น 5. ใส่ปุ้ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา ร กิโลกรัมต่อต้น และ 6. ใส่ปุ๊ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับใส่น้ำหมักชีวภาพ จากปลาเจือจาง 1:200 อัตรา 5 ลิตรต่อต้น
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีต่ผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette (ชื่อเดิม : ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยอินทรีย์น้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette)
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2553
ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตลองกอง การศึกษาวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุอินทรีย์ที่ได้จากการตัดแต่งกิ่งไม้ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพของแก้วมังกรในจังหวัดจันทบุรี การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพของแก้วมังกรในจังหวัดระยอง การสร้างต้นแบบการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติรวมทั้งความพึงพอใจของเกษตรกรในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทดลองในพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดที่มีความเหมาะสมชั้น 2 ( การสร้างต้นแบบการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติรวมทั้งความพึงพอใจของเกษตรกรในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทดลองในพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดที่มีความเหมาะสมชั้น 3 ( การสร้างต้นแบบการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติรวมทั้งความพึงพอใจของเกษตรกรในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทดลองในพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดที่มีความเหมาะสมชั้น1 (S การสร้างต้นแบบการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติรวมทั้งความพึงพอใจของเกษตรกรในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทดลองในพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดที่มีความเหมาะสมชั้น3 (S ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ต่อการเพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์มน้ำมันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด การวิจัยเพื่อพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก