สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อยใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สำเนาว์ ข้องสาย - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อยใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): Nile Tilapia Breeding Method of Small Farmers in the Northeast
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สำเนาว์ ข้องสาย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Somnow Khongsay
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: อรุณีพงศ์ ศรีสถาพร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Aruneepong Srisathaporn
คำสำคัญ: เกษตรกรรายย่อย
คำสำคัญ (EN): small agriculture
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: การเลี้ยงปลานิลของเกษตรกรรายย่อยในภาคตะวันวันออกเฉียงเหนือมีความสำคัญต่อ การเลี้ยงปลาในชนบทมากเพราะมีการเลี้ยงกันทั่วไปแต่การปรับปรุงพันธุ์ปลานิลที่เหมาะสมกับสภาพการเลี้ยงของเกษตรกรรายย่อย ยังมิได้มีการศึกษาและวิเคราะห์กันอย่างจริงจัง ซึ่งอาจมีผลต่อการขาดแนวทางการปรับปรุงที่ถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้น การวิจัยเรื่องการศึกษา วิธีการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อยมีขั้นตอนในการดำเนินการศึกษาวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. การศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. สำรวจพื้นที่เป้าหมายและสุ่มคัดเลือกเกษตรกรจำนวน 20 คน 3. ศึกษารูปแบบการเลี้ยงปลานิล 4. พัฒนาสายพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อย 5. การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 ข้อมูลสถานภาพทั่วไปใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย 5.2 เปรียบเทียบความแตกต่างผลผลิตปลานิลของเกษตรรายย่อยก่อนและหลังจากการทดลองผ่านไปแล้ว 6 เดือนส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นใช้เหตุผลทางวิชาการที่เกี่ยวข้องทั้งด้านคุณภาพและเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า การปล่อยปลานิลพันธุ์จิตรดา3 คละเพศขนาด 3-5 นิ้ว ในอัตราความหนาแน่น4 ตัวต่อตารางเมตรและทำการเลี้ยงเป็นระยะเวลา 6 เดือนการเจริญเติบโตของปลานิลเฉลี่ย 199.8 กรัม/ตัว
บทคัดย่อ (EN): Breeding Nile Tilapia fish of minor case farmers in Thai Nortkh Eastern Region is important and dissenated in rueal region. However, to lift up the deter fish’s heredity had not been actually analyzed and studied as it should be. Therefore, the Study Improvement of Nile Tilapia heredity in Minor-Case Faarmers of Thai Noeth Eastern Region has deen conductend and intends to lift up the deter fish ’s heredity of minor-case farmers of Thai North Eastern Region. Study on Nile Tilapia Breeding Method of small fermers in the Northeart. Contain the following procedureas: 1. Reviewing related literature 2. Surveying target area and collecting 20 farmers to de targets of study 3. Studying method of fish breeding 4. Improving Nile Tilapia heredity of minor-case faener 5. Collecting and processing Data 5.1 Applied perentage and average to general status 5.2 Differential compare of Nile Tish products of the farmer before before applying method and after 6 monthe of applying the method. Data has been analyze by knowledge-based reason? both quantitative and qualificative aspects. Result of the study shows that the dest way is to spread heredity of Jitra Lada 3 Nile Tilapia? unsorted gender?3-5 inchea by size? 4 fish per l spuare and nursed them for 6 monthe. The average of body weight of fish it 199.8 grams
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 122,400.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2551
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อยใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
30 กันยายน 2551
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำนมในฟาร์มของเกษตรกรรายย่อยในภาคตะวันออก การเลี้ยงปศุสัตว์ในระบบเกษตรผสมผสานของเกษตรกรรายย่อย ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การศึกษาระบบการเลี้ยงกระบือ และแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกระบือที่เหมาะสมของเกษตรกรรายย่อย ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การศึกษาภาวะความเป็นผู้นำของเกษตรกรรายย่อย กรณีศึกษาจากผลการอบรมผู้แทนเกษตรกรรายย่อย การใช้สื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรรายย่อยปลูกยางพาราในภาคเหนือตอนบน การวิเคราะห์ระบบตลาดและการจัดตั้งเครือข่ายการตลาดของเกษตรกรรายย่อยปลูกยางพาราในภาคเหนือตอนบน การศึกษาสายพันธุ์และสภาพการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรรายย่อย ในจังหวัดอุดรธานี การวิเคราะห์ระบบตลาดและการจัดตั้งเครือข่ายการตลาดของเกษตรกรรายย่อยปลูกยางพาราในภาคเหนือตอนบน การขุนโค สำหรับเกษตรกรรายย่อย การผลิตและการตลาดเมล็ดพันธุ์ถั่วฮามาต้า (Stylosanthes hamata c.v. verano) ของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดขอนแก่น

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก