สืบค้นงานวิจัย
การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร
มณฑาทิพย์ ยุ่นฉลาด, ชิดชม ฮิรางะ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร
ชื่อเรื่อง (EN): Production of Inulin and. Oligofructose from Banana.for Functional Food Ingredients Applications
บทคัดย่อ: ผลการศึกษาปริมาณ inulin และ oligofructose ในกล้วย 3 ชนิดได้แก่ กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า และกล้วยไข่ ที่ระยะความสุกตั้งแต่วันที่ 4-9 วัน โดยวิเคราะห์ปริมาณ total fructan โดยใช้วิธี Enzymatic/ Spectrophotometric method ( AOAC 999.03 ) พบว่ากล้วยที่ปล่อยให้สุกตามธรรมชาติที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 7-8 วันมีปริมาณ fructan สูงที่สุด โดยเฉพาะกล้วยน้ำว้าในช่วงดังกล่าวจะมีปริมาณ fructan สูงกว่าในกล้วยหอม และกล้วยไข่ ผลการสกัดแยก inulin และ oligofructose จากกล้วยและไซรับจากกล้วย พบว่าการใช้เอ็นไซม์เพ็คติเนสในปริมาณร้อยละ2 ของน้ำหนักกล้วย บ่มที่อุณหภูมิ 60องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง จะทำให้เนื้อกล้วยถูกย่อยสลายได้ร้อยละ 80 ไซรับที่ได้จากเนื้อกล้วย นำมา Pasteurize ที่อุณหภูมิ 91-93 องศาเซลเซียส นาน 15 นาที เพื่อ ตกตะกอนโปรตีนและยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ผลการทดลองผลิต inulin และ oligofructose โดยนำไซรับที่ได้ใน มากรองผ่าน ceramic membrane(Alumina) ที่มีรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.2?m เก็บส่วนของสารละลายที่ซึมผ่านเมมเบรน (MF permeate) นำมาผ่านระบบ Reverse osmosis เพื่อทำให้เข้มข้น แล้วผสมกับ maltodextrin 15%ก่อนทำให้เป็นผงแห้งโดยใช้ Drum Dry inulin และ oligofructose ที่ผลิตได้มีลักษณะเป็นผงสีครีม ผลการศึกษาแนวทางการใช้ inulin และ oligofructose ที่ผลิตได้ การทดลองนำมาผสมกับผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเครื่องดื่มประเภทน้ำหวานกลิ่นผลไม้ ได้แก่ น้ำหวานรสกลิ่นผลไม้(ราสเบอร์รี่) น้ำหวานรสกลิ่นผลไม้(แบลคเบอร์รี่) และเครื่องดื่มชนิดผงชงดื่มรสโกโก้ ในปริมาณร้อยละ 5 10 และ15 ของน้ำหนักผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มคุณค่าและลดปริมาณน้ำตาลที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ ผลการทดสอบทางประสาทสัมผัสโดยใช้ผู้ทดสอบจำนวน 20 คนชิมตัวอย่าง ให้คะแนนความชอบ ในเรื่อง สี กลิ่น รส ลักษณะเนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม แบบ hedonic scale โดยกำหนดให้คะแนนต่ำสุด = 1 หมายถึงไม่ชอบมากที่สุด และคะแนนสูงสุด = 9 หมายถึงชอบมากที่สุด วางแผนการทดลอง และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) วิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of varience) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธี Duncan’s new multiple range test (DNMRT) ผลการทดลอง พบว่าสามารถนำมาใช้เป็นสารเสริมอาหารในผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ดี แต่ยังมีปัญหาบ้างเล็กน้อยในเรื่องของกลิ่น ผลการศึกษาปริมาณ inulin และ oligofructose ในกล้วย 3 ชนิดได้แก่ กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า และกล้วยไข่ ที่ระยะความสุกตั้งแต่วันที่ 4-9 วัน โดยวิเคราะห์ปริมาณ total fructan โดยใช้วิธี Enzymatic/ Spectrophotometric method ( AOAC 999.03 ) พบว่ากล้วยที่ปล่อยให้สุกตามธรรมชาติที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 7-8 วันมีปริมาณ fructan สูงที่สุด โดยเฉพาะกล้วยน้ำว้าในช่วงดังกล่าวจะมีปริมาณ fructan สูงกว่าในกล้วยหอม และกล้วยไข่ ผลการสกัดแยก inulin และ oligofructose จากกล้วยและไซรับจากกล้วย พบว่าการใช้เอ็นไซม์เพ็คติเนสในปริมาณร้อยละ2 ของน้ำหนักกล้วย บ่มที่อุณหภูมิ 60องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง จะทำให้เนื้อกล้วยถูกย่อยสลายได้ร้อยละ 80 ไซรับที่ได้จากเนื้อกล้วย นำมา Pasteurize ที่อุณหภูมิ 91-93 องศาเซลเซียส นาน 15 นาที เพื่อ ตกตะกอนโปรตีนและยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ผลการทดลองผลิต inulin และ oligofructose โดยนำไซรับที่ได้ใน มากรองผ่าน ceramic membrane(Alumina) ที่มีรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.2?m เก็บส่วนของสารละลายที่ซึมผ่านเมมเบรน (MF permeate) นำมาผ่านระบบ Reverse osmosis เพื่อทำให้เข้มข้น แล้วผสมกับ maltodextrin 15%ก่อนทำให้เป็นผงแห้งโดยใช้ Drum Dry inulin และ oligofructose ที่ผลิตได้มีลักษณะเป็นผงสีครีม ผลการศึกษาแนวทางการใช้ inulin และ oligofructose ที่ผลิตได้ การทดลองนำมาผสมกับผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเครื่องดื่มประเภทน้ำหวานกลิ่นผลไม้ ได้แก่ น้ำหวานรสกลิ่นผลไม้(ราสเบอร์รี่) น้ำหวานรสกลิ่นผลไม้(แบลคเบอร์รี่) และเครื่องดื่มชนิดผงชงดื่มรสโกโก้ ในปริมาณร้อยละ 5 10 และ15 ของน้ำหนักผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มคุณค่าและลดปริมาณน้ำตาลที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ ผลการทดสอบทางประสาทสัมผัสโดยใช้ผู้ทดสอบจำนวน 20 คนชิมตัวอย่าง ให้คะแนนความชอบ ในเรื่อง สี กลิ่น รส ลักษณะเนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม แบบ hedonic scale โดยกำหนดให้คะแนนต่ำสุด = 1 หมายถึงไม่ชอบมากที่สุด และคะแนนสูงสุด = 9 หมายถึงชอบมากที่สุด วางแผนการทดลอง และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) วิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of varience) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธี Duncan’s new multiple range test (DNMRT) ผลการทดลอง พบว่าสามารถนำมาใช้เป็นสารเสริมอาหารในผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ดี แต่ยังมีปัญหาบ้างเล็กน้อยในเรื่องของกลิ่น
บทคัดย่อ (EN): Inulin and oligofructose in three different varieties of banana include Cavendish banana, Musa acuminata (AAA group) "Kluai Hom", Musa sapientum Linn. (AABB group) "Kluai nam wa" and Lady Finger banana, Musa acuminata (AA group) "Kluai Kai" were quantitatively studied at different ripening stage from 4 to 9 days. Quantity of total fructan in all samples were analyzed using Enzymatic/Spectrophotometric method (AOAC 999.03 ) and the results showed that the naturally ripen bananas at room temperature (30-32.C) after 7-8 days gave the highest amount of fructan. Especially the amount of fructan in Kluai nam wa was higher than those in Kluai Hom and Kluai Kai. Inulin and oligofructose were extracted from banana samples after mixing with 2 % (by weight) of pectinase enzyme and stored at 60 ?C for 48 hours. 80% of banana was digested and it was pasteurized at 91-93 ?C for 15 minutes in order to stop enzyme activity and denaturing the contained protein. Banana syrup was then filtered through the ceramic membrane (Alumina) with 0.2?m diameter and the permeate syrup was passed to the reverse osmosis process to increase its concentration. The concentrated syrup was mixed with 15% maltodextrin and fed to the drum dryer before grinding to a cream color of inulin and oligofructose powder. From the application study of inulin and oligofructose in food products, the results showed that using the powder in the amount of 5, 10 and 15% by weight in fruit (raspberry and blackberry) flavored beverages and cocoa drink to enhance their nutrition value and to reduce the use of sugar in the products gave a good results in sensory evaluation test from 20 panelists in color, taste, texture (or body of the products) and total score using Hedonic Scale analysis method (min. score =1 means the most dislike, max. score = 9 means the most satisfy) and statistically planned by Randomized Complete Block Design (RCBD) and analyzed by Duncan’s new multiple range test (DNMRT). Products odor were the only issue in this test but it was not very obvious ….Inulin and oligofructose in three different varieties of banana include Cavendish banana, Musa acuminata (AAA group) "Kluai Hom", Musa sapientum Linn. (AABB group) "Kluai nam wa" and Lady Finger banana, Musa acuminata (AA group) "Kluai Kai" were quantitatively studied at different ripening stage from 4 to 9 days. Quantity of total fructan in all samples were analyzed using Enzymatic/Spectrophotometric method (AOAC 999.03 ) and the results showed that the naturally ripen bananas at room temperature (30-32.C) after 7-8 days gave the highest amount of fructan. Especially the amount of fructan in Kluai nam wa was higher than those in Kluai Hom and Kluai Kai. Inulin and oligofructose were extracted from banana samples after mixing with 2 % (by weight) of pectinase enzyme and stored at 60 ?C for 48 hours. 80% of banana was digested and it was pasteurized at 91-93 ?C for 15 minutes in order to stop enzyme activity and denaturing the contained protein. Banana syrup was then filtered through the ceramic membrane (Alumina) with 0.2?m diameter and the permeate syrup was passed to the reverse osmosis process to increase its concentration. The concentrated syrup was mixed with 15% maltodextrin and fed to the drum dryer before grinding to a cream color of inulin and oligofructose powder. From the application study of inulin and oligofructose in food products, the results showed that using the powder in the amount of 5, 10 and 15% by weight in fruit (raspberry and blackberry) flavored beverages and cocoa drink to enhance their nutrition value and to reduce the use of sugar in the products gave a good results in sensory evaluation test from 20 panelists in color, taste, texture (or body of the products) and total score using Hedonic Scale analysis method (min. score =1 means the most dislike, max. score = 9 means the most satisfy) and statistically planned by Randomized Complete Block Design (RCBD) and analyzed by Duncan’s new multiple range test (DNMRT). Products odor were the only issue in this test but it was not very obvious ….
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2551
การศึกษาคุณค่าทางอาหารของกล้วยหอมและกล้วยไข่ดิบเพื่อการผลิตและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งกล้วย การส่งเสริมการผลิตและการใช้ประโยชน์จากกล้วยหินในจังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการวิจัยเทคโนโลยีการผลิตและการใช้สารสกัดจากพืชทดแทนสารเคมี โครงการวิจัยคัดเลือกพันธุ์และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกล้วยเพื่อการบริโภคสดเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์และการนำสารสำคัญจากกล้วยไปใช้ประโยชน์ การใช้เทคโนโลยีการผลิตสลิดดอกปลอดภัยจากสารพิษ การใช้หญ้าขจรจบเป็นอาหารหยาบ ผลพลอยได้ของมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลเป็นแหล่งอาหารพลังงานและพืชตระกูลถั่วท้องถิ่นเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนในการเลี้ยงโคนมสาว การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารฟักทองผสมกากข้าวหมักวัสดุเหลือใช้ จากกระบวนการผลิตสาโท การวิจัยประสิทธิภาพการใช้เปลือกสับปะรดเป็นอาหารหยาบผลพลอย ได้ของมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลเป็นแหล่งอาหารพลังงานและพืชตระกูลถั่วท้องถิ่นเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนในการเลี้ยงโคเนื้อ บูรณาการการผลิตข้าวเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตโดยใช้จุลินทรีย์และสารสกัดจากพืชในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ศึกษาต้นทุนการผลิตอาหารเสริมจากดักแด้ไหมพันธุ์ต่างประเทศลูกผสม
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก