สืบค้นงานวิจัย
การศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอธิลีนจากดอกปทุมมา (Curcuma spp.) ในสภาวะการเสื่อมสภาพของดอก
รัฐพร จันทร์เดช - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอธิลีนจากดอกปทุมมา (Curcuma spp.) ในสภาวะการเสื่อมสภาพของดอก
ชื่อเรื่อง (EN): Ethylene Biosynthetic Genes in Patuma (Curcuma spp.) Flowers in Response to Senescene.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รัฐพร จันทร์เดช
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Ruttaporn Chundet
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Pheravut Wongsawad
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: เอธิลีนเป็นฮอร์โมนที่มีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการต่างๆ ภายในพืช เช่น การเจริญ การพัฒนา และการเสื่อมสภาพ โดยขั้นตอนสำคัญในการสังเคราะห์เอธิลีนคือ การสร้าง S-adenosylmethionine (AdoMet) ซึ่งอาศัยการทำงานของเอนไซม์ ACC synthase และ ACC oxidase ทำการโคลนชิ้นส่วนของยีน ACC synthase และ ACC oxidase ด้วยเทคนิค RT-PCR โดยใช้ mRNA จากส่วนของ bract ออกแบบ primers จากบริเวณอนุรักษ์ของยีนดังกล่าวในพืชหลายชนิด และจากการตรวจสอบพบการแสดงออกของยีนในส่วนของ bract และดอกเท่านั้น
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-50-026
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550
เอกสารแนบ: https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/208071
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอธิลีนจากดอกปทุมมา (Curcuma spp.) ในสภาวะการเสื่อมสภาพของดอก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2550
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ศึกษาการแสดงออกของยีนที่แตกต่างกันของปทุมมาที่ปลูกภายใต้วันสั้นและวันยาวโดยการวิเคราะห์ลำดับเบสของ RNA การศึกษายีนที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์แอนโทไซยานินจากดอกปทุมมา (Curcuma spp.) การศึกษาองค์ประกอบของสารสี และการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสีในกลีบประดับของไม้ดอกกลุ่มปทุมมาและกระเจียว ผลของวิธีการให้แสงไฟต่อการออกดอกนอกฤดูของปทุมมา ผลของอุณหภูมิกลางวันและกลางคืนต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของปทุมมา ผลของความสั้น-ยาวของวันต่อการให้ดอกของปทุมมา ลักษณะของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์สารพิษ cylindrospermopsin ใน Cylindrospermopsis sp. ที่คัดแยกได้จากประเทศไทย ผลของความยาววันต่อการเติบโต การสังเคราะห์แสงและการสะสมอาหารในปทุมมา ผลของสารสกัดจากข้าวกล้องงอกต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและการสลายไขมันในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ของหนู ศึกษาอิทธิพลของตัวควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและการพัฒนาสีแดงของสีการแสดงออกของยีนของยีนการสังเคราะห์แอนโธไซยานินและชนิดของแอนโทไซยานินที่มีต่อเปลือกมะม่วง Mahacahnok // นายรัฐพลเมืองแก้ว - กองทุนนิวตั

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก