สืบค้นงานวิจัย
การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของปลาสวาย 4 กลุ่มประชากร
นงค์เยาว์ มณี - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของปลาสวาย 4 กลุ่มประชากร
ชื่อเรื่อง (EN): Comparison on Growth Performance of Four Populations of Striped Catfish (Pangasianodon hypophthalmus)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นงค์เยาว์ มณี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Striped catfish (Pangasianodon hypopthlamus), population, growth
บทคัดย่อ: การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของปลาสวาย 4 กลุ่มประชากร คือ (1) กลุ่มประชากรก าแพงเพชร (2) กลุ่มประชากรอุบลราชธานี (3) กลุ่มประชากรยโสธร และ (4) กลุ่มประชากรสุรินทร์ ในบ่อดินขนาด 400 ตารางเมตร เลี้ยงปลาสวายทั้ง 4 กลุ่มประชากร รวมในบ่อเดียวกัน อัตราปล่อยกลุ่มปร ะชากรละ 100 ตัวต่อบ่อ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน ้าจืดยโสธร ปลาทดลองมีความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย 5.83+0.14,5.76 + 0.14, 5.84 + 0.14 และ 5.86 + 0.11 เซนติเมตร ตามล าดับ น ้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 1.66 + 0.16, 1.60 +0.20, 1.63+0.11 และ 1.63+0.17 กรัม ตามล าดับ ให้ปล ากินอาหารส าเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน ้าโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ วันละ 2 ครั้ง เวลา 09.00 น. และ 15.30 น. ทดลองเลี้ยงระหว่างเดือน สิงหาคม 2551 ถึง กุมภาพันธ์ 2552เป็ นเวลา 6เดือนผลการทดลองพบว่าความยาวสุดท้ายเฉลี่ย น ้าหนักสุดท้ายเฉลี่ย น ้าหนักเพิ่มเฉลี่ยต่อวัน แ ละ อัตราการเจริญเติบโตจ าเพาะเฉลี่ยของปลาสวายทุกกลุ่มประชากร ไม่แตกต่างกันทางสถิติ(α = 0.05) โดยมีค่าเท่ากับ 30.18 + 1.59, 29.82 + 1.26, 30.42 + 0.82, 30.36+ 1.23 เซนติเมตร, 189.86 + 26.29, 186.33 +22.72, 189.07 +26.41, 188.43+ 22.67 กรัม. 1.14 + 0.15, 1.11 + 0.13, 1.13 + 0.13, 1.13 + 0.13 กรัม/วัน และ 2.96 + 0.06, 2.83 +0.10, 2.86 + 0.12และ 2.82 + 0.09 เปอร์เซ็นต์/วัน ตามล าดับ ส าหรับอัตราการรอดตายของกลุ่มประชากรก าแพงเพชรมีค่าเท่ากับ 94.00 +1.15 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมากกว่าอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ(α = 0.05) กับทุกกลุ่มประชากร ขณะที่กลุ่มประชากรอุบลราชธานี กลุ่ม ประชากรยโสธร และกลุ่มประชากรสุรินทร์ พบว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ(α = 0.05)โดยมีค่าเท่ากับ 81.00 +1.41, 85.00+2.44 และ81.00 +2.37 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ จากผลการทดลองครั้งนี้พบว่าปลาสวายทั้ง 4 กลุ่มประชากรมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดีสามารถใช้ในการเพาะเลี้ยงได้ อย่างไรก็ตาม หาก พิจารณาประกอบกับ อัตราการรอดตายพบว่ากลุ่มประชากรก าแพงเพชรมีความเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงมากที่สุด
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: http://www.inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=65
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของปลาสวาย 4 กลุ่มประชากร
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของปลาสวาย 4 กลุ่มประชากร การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของปลาชะโอน 5 กลุ่มประชากร ชนิดและระดับคาร์โบไฮเดรตที่เหมาะสมในอาหารต่อการเจริญเติบโตของปลาสวายโมงขนาดเล็ก การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของปลาเสือตอที่เลี้ยงด้วยอาหารที่มีชีวิต ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโตของปลาหมอ การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของสายพันธุ์ปลานิลที่เลี้ยงในจังหวัดพะเยา ผลของวิธีการกระตุ้นการเจริญเติบโตหลังการฉีดอสุจิเข้าในไข่โคต่ออัตราการเจริญเติบโตของตัวอ่อนและอัตราการตั้งท้องหลังการย้ายฝากตัวอ่อน ผลของวิตามินละลายน้ำที่จำเป็นต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายลูกปลากดเหลือง ผลของการเก็บรักษาไรแดงต่อการเจริญเติบโตของปลา การปรับปรุงลักษณะการเจริญเติบโตปลานิลจิตรลดา

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก