สืบค้นงานวิจัย
การผลิตสับปะรดทอดกรอบภายใต้สภาวะสุญญากาศ
จักรพันธุ์ รอดทรัพย์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: การผลิตสับปะรดทอดกรอบภายใต้สภาวะสุญญากาศ
ชื่อเรื่อง (EN): The Production of Pineapple Frying in Vacuum Fryer
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จักรพันธุ์ รอดทรัพย์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: เฉลิมพล ถนอมวงค์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สับปะรด(Ananas comosus(L.) Meer) เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย สามารถนำมาแปรูรูปเปินผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้มากมาย เนื่องจากเป็นผลไม้ที่มีรสซาติเป็นที่ขึ้นชอบของคน ทั่วไป งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสับปะรดสับปะรดทอดกรอบภายใต้สภาวะลุญญากาศให้มี ลักษณะเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ช่วยสร้างมูลคำเพิ่มและความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์จาก สับปะรดพันธุ์ปัตตาเวียที่ปลูกในตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก การทดลองโดยมี ขั้นตอนดังนี้ การศึกษาสภาระที่เหมาะสมในการทอดลับปะรดภายใต้สภาวะสุญญากาศ โดยใช้ลับปะรด พันธุ์ปัตตาเวีย ที่มีค่า TSS อยู่ในช่วง 14. 2 - 17 .0 % หนาประมาณ 0.4 0.6 เซนติเมตร ทอดที่ อุณหภูมิ ทอด 110 องศาเซลเซียส เวลา 40 นาที มีค่าความแข็ง และเวลา ณ จุดแตกหัก เท่ากับ 1343.70 กรัม และ 1.10 วินาที คำาสีโดยการวัดค่า L c h มีคำ 44.93 38.44 และ 76 66 ตามลำดับ ปริมาณไขมัน ท่ากับ 17.57 % คะแนนความชอบรวม เท่ากับ 7.26 (ชอบปานกลาง) การเตรียมสับปะรดที่เหมาะสมใน การทอดสับปะรดภายใต้สภาวะลุญญากาศ ได้วิธีการเตรียมที่เหมาะสมคือ สับปะรดสด ซึ่งมีค่าความ แข็ง และเวลา ณ จุดแตกหัก เท่ากับ 704.93 กรัม และ 1.03 วินาที คำาสีโดยการวัดค่า เ c h มีค่า 46.88. 36.56 และ 75.30 ตามลำดับ ปริมาณไขมัน เท่ากับ 16.37 % คะแนนความชอบรวม เท่ากับ 7.50 (ชอบ ปานกลาง)
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิตสับปะรดทอดกรอบภายใต้สภาวะสุญญากาศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
30 กันยายน 2552
การเปรียบเทียบคุณภาพสับปะรดรับประทานผลสดพันธุ์ใหม่ใน 3 พื้นที่และการยอมรับของผู้บริโภค การเปรียบเทียบคุณภาพสับปะรดรับประทานผลสดพันธุ์ใหม่ใน 3 พื้นที่และการยอมรับของผู้บริโภค การพัฒนาวิธีการผลิตหน่อพันธุ์สับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก สภาพการผลิตสับปะรดจังหวัดหนองคาย การสร้างเครื่องวัดความเปรี้ยวของสับปะรด การสำรวจและติดตามข้อมูลด้านการผลิตของเกษตรกรต่อการใช้ประโยชน์เพื่อการประเมินผลผลิตล่วงหน้าของสับปะรดในจังหวัดลำปาง การเปรียบเทียบอัตราการสึกกร่อนของโลหะทำภาชนะบรรจุสับปะรดจากสารละลายสับปะรดกระป๋องที่สภาวะต่าง ๆ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการธาตุอาหารอย่างเหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลผลิตของสับปะรด สมบัติกลุ่มชุดดินต่อคุณภาพของสับปะรดพันธุ์ภูเก็ตภายใต้มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ การผลิตและการตลาดสับปะรด จังหวัดเพชรบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก