สืบค้นงานวิจัย
การใช้สารเคมีกับกาแฟอราบีก้าเพื่อความทนแล้ง
นริศ ยิ้มแย้ม - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การใช้สารเคมีกับกาแฟอราบีก้าเพื่อความทนแล้ง
ชื่อเรื่อง (EN): Chemical Application for Drought Resistance in Arabica Coffee
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นริศ ยิ้มแย้ม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Narit Yimyam
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: พิทยา สรวมศิริ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Pittaya Sruamsiri
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากการทดลองใช้สารเคมี 3 ชนิด กับกาแฟอราบีก้าเพื่อเพิ่มความทนแล้ง ได้แก่ ZnSO4,KNO3 Adenine โดยทำการฉีดพ่นต้นกาแฟอราบีก้าสายพันธุ์คาติมอร์ เบอร์ 1662 ซึ่งปลูกในสภาพแห้งแล้ง ขาดน้ำติดต่อกันนาน 5 เดือน พบว่า ชนิดของสารเคมีและความเข้มข้นที่เหมาะสม ได้แก่ ZnSO4,KNO3 และ Adenine ที่ความเข้มข้น 0.2, 7 และ 0.01% ตามลำดับ การใช้สารเคมีดังกล่าวจะทำให้อัตราการเจริญเติบโตของต้นกาแฟทั้งด้านความสูง และเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้นเพิ่มขึ้นมากกว่าการใช้น้ำกลั่นอย่างเดียว นอกจากนี้สารเคมียังทำให้ค่าการเปิดของปากใบ และค่าศักย์ของน้ำในใบตลอดจนคลอโรฟิลด์มีมากกว่าในกรณีที่ไม่ได้ใช้สารเคมีอีกด้วย อย่างไรก็ตามปริมาณโปรลีน (Proline) ในใบจะไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P> .05) ในระหว่างทั้ง 2 กรณี
บทคัดย่อ (EN): Three chemicals, i.e. ZnSO4, KNO3and Adenine were applied on Arabica coffee (Catimor, 1662) to increase drought resistance. The chemicals were sprayed to coffee trees afier they had been exposed to complete water stress for 5 months. It was found that coffee trees sprayed with ZnSO4, KNO3 and Adenine at a concentation of 0.2, 7 and 0.01% respectively had higheres, rates both in terms of plant height and stem diameter, than those sprayed water. Furtbermore, tbe chemicais had induced higher stomatal conductance, leaf water potential and chlorophyll content in the leaves. Nevertheless, proline content in the leaf showed no significant difference between control and chemical treatments.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2534
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2535
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247669/169472
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้สารเคมีกับกาแฟอราบีก้าเพื่อความทนแล้ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2535
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของสภาพความสูงของพื้นที่ที่มีผลต่อคุณภาพกาแฟอราบีก้า การควบคุมโรคข้าวโดยใช้สารเคมี การใช้สารเคมีควบคุมวัชพืชสาบเสือ (Chromolaena Odorata) การผลิตน้ำเชื่อมจากข้าวเหนียวด้วยรา ผลของการเก็บรักษา พันธุ์ และการใช้สารเคมีต่อคุณภาพของแกลดิโอลัส การใช้สารเคมีและวัสดุหีบห่อยืดอายุการเก็บไส้กรอกพื้นบ้าน (ไส้อั่ว) ชนิดและปริมาณสารเคมีที่ให้ความเป็นกรดที่มีต่อเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นสำหรับใช้ในการผลิตแหนม ผลของสารเคมีต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของดอกอัลสโตรมีเรีย พฤติกรรมของเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจัดแมลง และศัตรูพืชที่มีผลกระทบต่อคุณภาพดิน และน้ำของชุมชนโดยรอบอุทยานแห่งชาติพุเตย จังหวัดสุพรรณบุรี อิทธิพลของต้นตอลำไยต่อการเจริญเติบโต ทนแล้งและทนโรคของลำไยพันธุ์ดอ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก