สืบค้นงานวิจัย
ผลของรำและปลายข้าวก่ำพันธุ์ใหม่ที่มีแกมมาโอไรซานอลและแอนโธไซยานินในระดับสูง ใช้เลี้ยงสุกรขุนต่อระดับไลโปโปรตีนชนิดดีในเลือด คุณภาพซาก เนื้อและผลิตภัณฑ์ของสุกรขุน
ศ. ดร. สัญชัย จตุรสิทธา - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: ผลของรำและปลายข้าวก่ำพันธุ์ใหม่ที่มีแกมมาโอไรซานอลและแอนโธไซยานินในระดับสูง ใช้เลี้ยงสุกรขุนต่อระดับไลโปโปรตีนชนิดดีในเลือด คุณภาพซาก เนื้อและผลิตภัณฑ์ของสุกรขุน
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Rice Bran and Broken Purple Rice New Variety for High Levels of gamma-Oryzanol and Anthocyanin Fed Finishing Swine on High Density Lipoprotein of Blood Plasma, Carcass, Meat and Product Quality
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศ. ดร. สัญชัย จตุรสิทธา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของปลายข้าวกำพันธุ์ใหม่ที่มีแกมมาโอไรซานอลและแอนโธไซยานินในระดับสูง ใช้เลี้ยงสุกรขุนต่อระดับไลโปโปรตีนชนิดดีในเลือด คุณภาพซาก เนื้อและผลิตภัณฑ์ของสุกรขุน (ปีที่ 1) ทำการทดลองโดยการขุนสุกรลูกผสม 3 สายพันธุ์ทางการค้ำคละเพศ จำนวน 30 ตัว โดยวางแผนการ ทดลองแบบ สุ่มสมบูรณ์ โดยใช้อาหารเป็นปัจจัย แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ อาหารควบคุม (กลุ่มที่ 1) อาหารที่ ใช้ปลายข้าวขาว (กลุ่มที่ 2)และอาหารที่ใช้ปลายข้าวเหนียวก่ำ (กลุ่มที่ 3) ตามลำดับ เลี้ยงในคอก ทดลองเดี่ยว มีการให้อาหาร และน้ำตลอดเวลา การให้อาหารนั้นแบ่งตามระยะการเจริญเติบโต เริ่มเลี้ยง จากน้ำหนักตัว 30 กก. จนกระทั่งถึง 100 กก. จากนั้นนำเข้าฆ่าและชำแหละทำการเก็บตัวอย่าง เพื่อศึกษา คุณภาพซาก และเนื้อ จากการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพการเจริญเดิบโตในด้านอัตราการเจริญเติบโต เฉลี่ยต่อวัน การกินอาหาร และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักตัว ไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้ง 3 กลุ่ม ในแต่ละระชะการทดลอง สำหรับปริมาณคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรค์ในพลาสมาของสุกร พบว่า มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้ง 3 กลุ่มในแต่ละระยะการทดลอง แต่กลุ่มที่ 3 มีแนวโน้ม HDL สูง แต่มี LDL ต่ำกว่ากอุ่มอื่น ส่วนลักษณะคุณภาพชากทั้งเปอร์เซ็นต์การตัดแต่งชากสุกรแบบไทยและสากลมีค่ ไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้ง 3 กลุ่ม สำหรับค้านคุณภาพเนื้อสุกรเกี่ยวกับความเป็นกรดค่ง สีเนื้อ และการ สูญเสียน้ำมีค่ไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้ง 3 กลุ่ม แต่สุกรกลุ่มที่ 2 มีเปอร์เซ็นด์ไขมันสูงกว่าทุกกลุ่ม (P<0.05)ในการทดลองนี้สรุปได้ว่าการใช้ปลายข้าวเหนียวก่ำในอาหารสุกร ไม่มีผลต่อสมรรถภาพการ ผลิต องค์ประกอบพลาสมาในเลือด และคุณภาพซาก แต่มีผลกระทบต่อลักษณะคุณภาพเนื้อบางชนิด ซึ่ง จำเป็นต้องศึกษาคุณภาพเนื้อค้านอื่นๆ รวมทั้งคุณภาพ ไขมัน และผลิตภัณฑ์ต่อไป
บทคัดย่อ (EN): This experiment was conducted to investigate the effect of rice bran and broken purple rice new variety for high levels of gamma-Oryzanol and Anthocyanin fed finishing swine on high density lipoprotein of blood plasma, carcass, meat and product quality (1" year). Thirty commercial crossbred pigs were allotted in completely randomized design within 3 groups as basal feed (group 1), broken rice (group 2) and broken purple rice (group 3). They were fed individual pen with water and feed ad libittum from 30 to 100 kg of body weight. Until reaching the slaughter weight, they were slaughtered in order to study carcass and meat quality. The results revealed that the production performance in term of average daily gain, feed intake and feed conversion ratio were not significantly different in all groups. The cholesterol and triglyceride of swine blood plasma were not significant for all groups in every experimental period but in group 3, the trend of high HDL and low LDL contents was observed. The carcass quality in terms of Thai and US Styles cutting percentage was not significant among groups. The meat quality in term of pH value, color and drip loss were not significantly different but fat percentage of group 2 was higher than those of 2 groups (P<0.05). In conclusion, broken purple rice in swine diet had not afiected on production performance, blood plasma composition and carcass quality but it had impact for some meat quality characteristics. Further investigation will focus on other meat quality including fat and meat product quality
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของรำและปลายข้าวก่ำพันธุ์ใหม่ที่มีแกมมาโอไรซานอลและแอนโธไซยานินในระดับสูง ใช้เลี้ยงสุกรขุนต่อระดับไลโปโปรตีนชนิดดีในเลือด คุณภาพซาก เนื้อและผลิตภัณฑ์ของสุกรขุน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
30 กันยายน 2552
โครงการนำร่องการจัดทำระบบคอมพาร์ทเมนต์สุกร เพื่อรับรองสถานภาพปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยและโรคอหิวาต์สุกรเพื่อการส่งออก แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน คุณภาพข้าวสุกจากการผสมข้าว กข 23 และ ชัยนาท 1 ในขาวดอกมะลิ 105 ผลการศึกษาอาหารสำเร็จรูปสำหรับสุกรขุน ผลการให้อาหารพลังงานและโปรตีนระดับต่ำสำหรับสุกรแม่พันธุ์ดูร๊อค-เหมยซาน การศึกษาการเลี้ยงสุกรขุนด้วยอาหารที่มีเปอร์เซนต์โปรตีนต่ำ การใช้มันสำปะหลังแคโรทีนสูง (พันธุ์ระยอง) ในอาหารสุกรขุน การใช้รำสกัดน้ำมันแทนรำสดในอาหารสุกรขุน โครงการพัฒนาพันธุ์สุกรเชิงการค้าของกรมปศุสัตว์ 34.ลักษณะทางเศรษฐกิจบางประการและลักษณะซากของสุกรขุน 3 สายพันธุ์ ที่เกิดจากพ่อสุกรพันธุ์ดูร็อคสายพันธุ์แคนาดากับแม่ลูกผสม ลาร์จไวท์-แลนด์เรซสายพันธุ์นอร์ ผลการขุนสุกรโดยใช้หญ้าขนสดอัตรา 50 % ของอาหารข้น

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก