สืบค้นงานวิจัย
สารถนอมอาหารจากขิงสกัดเพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันพืชและสารต้านแบคทีเรีย (ระยะที่ 2)
ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: สารถนอมอาหารจากขิงสกัดเพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันพืชและสารต้านแบคทีเรีย (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Biopreservative from Ginger Extracts used as Antioxidant in Vegetable Oil and Antibacterial (Phase 2)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): NATTA LAOHAKUNJIT
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ: N/A
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ศึกษาประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชวงศ์ขิง ได้แก่ ขิง (ginger) (Zingiber officinale) ข่า (galangal)/(Languas galaga Sw) ขมิ้นชัน (turmeric) (Curcuma longa Linn) กระชาย (kaempferia )และเร่ว หอม (bastard cardamom)ใช้เป็นสารถนอมอาหาร เพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันพืชและสารต้าน แบคที่เรีย โดยการสกัดด้วยการกลั่น (steam distillation) และการสกัดด้วยตัวทำละลาย 2 ชนิด ปิโตรเลียมอีเทอร์ (PT) และ สกัดด้วยเอทานอล (ED) และกากที่เหลือจากการสกัดด้วย PTสกัดต่อด้วยเอทานอล (EW) ผลการ ทดสอบประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยพืชวงศ์ขิงทั้ง 5 ชนิด ต่อการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ เปรียบเทียบกับ butyrated hydroxyl anisole (BHA) และ butyrated hydroxy! toluene (BHT) พบว่า น้ำมันหอมระเหยทั้งหมด ความเข้มข้น 1,000 มิลลิรัมต่อลิตร มีความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (โดยสามารถเข้าทำปฏิกิริยา กับ DPPH ได้สูงที่สุด) โดยน้ำมันหอมระเหยที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการเข้าทำปฏิกิริยากับ DPPH ของชิง ข่ ขมิ้นชัน กระชาย และเร่วหอม คือ น้ำมันหอมระเหยจาก ginger-ED. galanga-PT, turmeric-EW, kaempferia-ED และ bastard cardamom-ED ตามลำตับ น้ำมันหอมระเหยจาก turmeric-Ew มีประสิทธิภาพการยับยั้งการ เกิดปฏิกิริยาออกชิเดชันดีที่สุด เมื่อเทียบกับประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชวงศ์ขิงทั้งหมด การสกัดพืช ด้วย ethano ให้น้ำมันหอมระเหยที่มีประสิทธิภาพเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดี การยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา ออกชิเดชันในน้ำมันถั่วเหลืองของน้ำมันหอมระเหยพบว่าน้ำมันหอมระเหยจาก turmeric-ED ความเข้มข้น 500 มิลลิกทรัมต่อลิตรมีประสิทธิภาพการยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาออกชิเดชันดี (มีค่า peroxide ต่ำที่สุดที่เวลา 15 ชั่วโมง) และไม่แตกต่างกับประสิทธิภาพการยับยั้งของ BHA ที่ความเข้มขัน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วนประสิทธิภาพการ เป็นสารต้านแบคทีรีย พบว่า น้ำมันหอมระเหยจากชิงที่ได้จากการต้มกลั่นสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแกรม บวกทั้ง 3 ชนิดได้ดีที่สุด เมื่อเทียบกับน้ำมันหอมระเหยจากชิงโดยวิธีอื่นๆ โดยน้ำมันหอมระเหยจากขิง ขมิ้นชันและ กระชายที่ได้จากการตัมกสั่นมีประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญของเชื้อ L. monocyogenes ได้ดีที่สุด และ น้ำมันหอม ระเหยจากเร่วหอมที่ใด้จากการดัมกลั่นมีประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญของเชื้อ B.cerous และ L. monocytogenes ได้ดีที่สุด น้ำมันหอมระเหยจาก galanga-Ew สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ 8. cereus ได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับ ประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียอีก 3 ชนิด น้ำมันหอมระเหยจากเร่วหอมสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. col ได้มากที่สุดเมื่อเทียบกับประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืชวงศ์ขิงทั้งหมด
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 294,750.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2551
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สารถนอมอาหารจากขิงสกัดเพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันพืชและสารต้านแบคทีเรีย (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2551
การพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารสำคัญกลุ่มไม่มีขั้วและกลุ่มมีขั้วจากเมล็ดข้าวสีเพื่อเตรียมเป็นสารสกัดมาตรฐานโดยใช้ฤทธิ์ชีวภาพเป็น ตัวชี้นำ แนวโน้มตลาดอาหารเสริมสุขภาพจากพืช การศึกษาประสิทธิภาพการสกัดสารต้านอนุมูลอิสระจากพืชผักพื้นบ้าน ในจังหวัดกำแพงเพชร สมุนไพรช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน: ขิง ฐานข้อมูลจีโนไทป์ของเชื้อพันธุกรรมพืชตระกูลแตง ผลของการใช้ไคโตซานและสารสกัดจากขิงเป็นสารต้านอนุมูลอิสระและสารต้านเชื้อจุลินทรีย์ในเนื้อวัวบด สารยับยั้งจุลินทรีย์และสารต้านอนุมูลอิสระของรา Xylaria และการจำแนกชนิดโดยการใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ด การศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำมันหอมระเหยจากพืช วงศ์กระดังงา การศึกษาปริมาณสารสำคัญ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสำรับอาหารไทย การพัฒนาการผลิต Bioactive Fractions ที่มีฤทธิ์ต้านการกลายพันธุ์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านการสลายเซลล์ข้อเข่าจากการสกัดหยาบของลำไย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก