สืบค้นงานวิจัย
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพความสดของกั้งตั๊กแตนภายหลังการจับ
จันทิรา วงศ์วิเชียร - มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ชื่อเรื่อง: การเปลี่ยนแปลงคุณภาพความสดของกั้งตั๊กแตนภายหลังการจับ
ชื่อเรื่อง (EN): Changes in Postharvest Quality of Mantis Shrimp (Harpiosquillar raphidea)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จันทิรา วงศ์วิเชียร
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาการย่อยสลายตัวของกล้ามเนื้อกั้งตั๊กแตนในระหว่างการเก็บรักษาในน้ำแข็งเป็นเวลา 10 วัน พบว่ากล้ามเนื้อกั้งตั๊กแตนมีการย่อยสลายตัวเองตลอดการเก็บรักษา (p<0.05) และหลังจากวันที่4 ของการเก็บรักษาปริมาณโปรตีนที่ละลายได้สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (p<0.05) ผลการศึกษาคุณลักษณะของเอนไซม์โปรติเอสในกล้ามเนื้อกั้งตั๊กแตน โดยการบ่มกล้ามเนื้อกั้งตั๊กแตนบดที่อุณภูมิ (30-80 องศาเซลเซียส) และ pH ต่างๆ (2.0-12.0) พบว่าการย่อยสลายตัวเองของกล้ามเนื้อกั้งตั๊กแตนเท่ากับ 4.0 และ 9.0 และพบว่าสารยับยั้งเอนไซม์โปรตีเนสชนิด Pepstatin A และ E-64 สามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์โปรตีเนสในกล้ามเนื้อกั้งตั๊กแตนได้ดีที่สุดทั้งในสภาวะที่เป็นกรดและด่าง ดังนั้นเองไซน์โปรตีเนสที่พบในเนื้อกั้งตั๊กแตนบดเป็นเอนไซม์โปรตีเนสชนิดซิสเตอีนและชนิดแอสปาติก. Autolytic activity of mantis shrimp (harpiosquilla raphidea) muscle during 10-day iced storage was characrized. Autolyticdegradation of mantis shimp muscle increased throughout 10 day of iced storags (p<0.05). after day 4, mantis shrimp muscle showed sharply increases in TCA-soluble peptide content (p<0.05). proteted at different temperratures (30-80c) and pH (2.0-12.0). the highest autolysis activity was exhibited at 60 c. and 9.0. the proteinase inhibitors, E-64 and pepstatin A showed the greatest inhibition of autolysis at both acid and alkli pHs revealing that proteinases found in mantis shrimp mince are cysteine proteinases and aspartic proteinases.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
เอกสารแนบ: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/2137
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพความสดของกั้งตั๊กแตนภายหลังการจับ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
30 กันยายน 2555
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ความมีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของข้าวกล้อง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในบึงบอระเพ็ด “7 ปี ขุนสถาน” กับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิต ผลของการมาริเนทด้วยเครื่องสะเต๊ะต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและความปลอดภัยของเนื้อหอยนางรม การยืดอายุและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของหอยแมลงภู่โดยวิธี sous vide และร่วมกับฟอสเฟต ผลของอุณหภูมิของต่อการเปลี่ยนแปลงสารหอมระเหยและคุณภาพทางกายภาพ - เคมีของส้มโอตัดแต่งสดระหว่างการเก็บรักษา ผลของ 1-MCP ต่อการเปลี่ยนแปลงกลิ่นและคุณภาพของมะละกอและมะละกอพร้อมบริโภคในระหว่างการเก็บรักษา การสร้างสภาวการณ์โลกร้อนในพื้นที่ไร่ถั่วเหลืองเพื่อประเมินผลกระทบที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสารอาหาร และ การเปลี่ยนแปลงในระดับพันธุกรรม ของถั่วเหลืองพันธุ์สำคัญของประเทศไทย การใช้สารทำให้เกิดความคงตัวแบบผสมผสานเพื่อลดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของไวน์ลิ้นจี่ในระหว่างการเก็บรักษา ผลของการให้ความร้อนก่อนการตัดแต่งและกรดแอสคอร์บิคต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและคุณภาพของมะละกอสุกพร้อมบริโภค

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก