สืบค้นงานวิจัย
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแข้งไก่ Megalaspis cordyla (Linnaeus,1785) ในอ่าวไทย พ.ศ. 2550
ปิยะโชค สินอนันต์, สุวรรณทนา ทศพรพิทักษ์กุล, นันทชัย บุญจร, อัญญานี แย้มรุ่งเรือง, ขวัญชัย ปานแก้ว - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแข้งไก่ Megalaspis cordyla (Linnaeus,1785) ในอ่าวไทย พ.ศ. 2550
ชื่อเรื่อง (EN): Stock Assessment of Hardtail Scas, Megalaspis cordyla (Linnaeus,1785) in the Gulf of Thailand in 2007
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแข?งไก? (Megalaspiscordyla) ในอ?าวไทยโดยเก็บรวบรวมข?อมูล จากเครื่องมืออวนล?อมซั้งอวนล?อมจับป??นไฟ อวนดําและอวนล?อมจับปลากะตัก บริเวณท?าเทียบเรือในเขต จังหวัดชายฝ??งอ?าวไทยระหว?างเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2550 พบว?ามีอัตราการจับเฉลี่ยของปลาแข?งไก? เท?ากับ 170.90 67.67 134.40 และ 40.46 กิโลกรัม/วัน ตามลําดับ ปลาแข?งไก?ที่เข?ามาในข?ายการประมงมีขนาด ความยาวอยู?ในช?วง 3.50-35.50 เซนติเมตร มีสมการการเติบโต เท?ากับ Lt = 39.60(1-e-1.34(t-0.00)) ค?าสัมประสิทธิ์ การตายรวม (Z) เท?ากับ 6.31 ต?อป?ค?าสัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ (M) เท?ากับ 2.05 ต?อป?และค?า สัมประสิทธิ์การตายโดยการประมง (F) เท?ากับ 4.26 ต?อป?ปลาแข?งไก?ความยาวแรกที่เริ่มเข?าสู?ข?ายการประมง มีความยาว 3.50 เซนติเมตร มีจํานวน 46.58 ล?านตัว มีระดับผลผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) และมูลค?าสูงสุดที่ ยั่งยืน (MEY) เท?ากับ 1,679 ตัน และ 36.79 ล?านบาท ตามลําดับ ระดับการลงแรงประมงที่เหมาะสมเท?ากับ ร?อยละ 50 และ 35 ของการลงแรงประมงใน พ.ศ. 2550 ซึ่งป?จจุบันมีการลงแรงประมงมากเกินกําลังผลิตของ ปลาแข?งไก? จึงได?ศึกษาแนวทางหรือมาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรปลาแข?งไก?ด?วยการปรับลด สัดส?วนการลงแรงประมงของเรืออวนล?อมแต?ละประเภท พบว?าการปรับลดการลงแรงประมงของเรือ อวนล?อมซั้งลงร?อยละ 50 เรืออวนล?อมป??นไฟร?อยละ 50 เรืออวนดําร?อยละ 30 และเรืออวนล?อมจับปลากะตัก ลงร?อยละ 30 จากการลงแรงประมงใน พ.ศ. 2550 จะมีผลทําให?ผลจับปลาแข?งไก?เพิ่มขึ้นใกล?กับศักย?การผลิต สูงสุดที่ยั่งยืน
บทคัดย่อ (EN): Stock Assessment of Torpedo scad (Megalaspis cordyla) in the Gulf of Thailand was conducted by collecting data from Luring purse seine, Light luring purse seine, Thai purse seine and Anchovy purse seine at fishing ports along coastline of the Gulf of Thailand during January to December 2007. The results showed that average catch per unit of effort of M. cordyla were 170.90, 67.67, 134.40 and 40.46 kg/day, respectively. Size distribution was recruited to fishing ground in range from 3.50-35.50 cm. Growth equation was expressed in equation Lt = 39.60(1-e-1.34(t-0.00)). Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 6.31, 2.05 and 4.26 per year, respectively. While size of recruitment in fishing ground was at 3.50 cm with 46.58 million individual. Maximum sustainable yield (MSY) was 1,679 tons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 36.79 million baht. Optimum fishing efforts were 50% and 35% of the fishing effort in 2007. M. cordyla in the Gulf of Thailand was utilized over the MSY level as well as over the optimum fishing effort. The approach for effective management of M. cordyla was to reduce fishing effort on each kind of purse seines, the reduction of fishing effort in 2007 on Luring purse seine, Light luring purse seine, Thai purse seine and Anchovy purse seine were 50%, 50%, 30% and 30% respectively, has been increase total catch of M. cordyla nearly the maximum sustainable yield.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแข้งไก่ Megalaspis cordyla (Linnaeus,1785) ในอ่าวไทย พ.ศ. 2550
กรมประมง
31 ธันวาคม 2551
กรมประมง
การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาแข้งไก่(Megalaspis cordyla (Linnaeus,1758)) ในอ่าวไทย สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาแข้งไก่ชนิด (Megalaspis cordyla (Linnaeus,1758)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรหมึกกล้วยชนิด Photololigo chinensis และ P. duvaucelii ในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker, 1849) ในอ่าวไทย สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาหลังเขียว(Sardinella gibbosa(Bleeker, 1849)) ในอ่าวไทย การประมงหมึกกระดองจากเครื่องมืออวนลากพาณิชย์ในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทรายแดงชนิด Nemipterus hexodon และ N. peronii ในอ่าวไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก