สืบค้นงานวิจัย
การระบุเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับกลไกการตอบสนองต่อความเค็มของหม่อน
ราตรี วงศ์ปัญญา, อมรรัตน์ พรหมบุญ, สิทธิรักษ์ รอยตระกูล - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การระบุเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับกลไกการตอบสนองต่อความเค็มของหม่อน
ชื่อเรื่อง (EN): Identification of Molecular Markers that Related to Salt-Stress Response Mechanism of Mulberry, Morus spp.
บทคัดย่อ: ทำการเปรียบเทียบการแสดงออกของโปรตีนระหว่างหม่อนสายพันธุ์ส้มกับ S61 ในดินหลังจากได้รับเกลือแกงเข้มข้น 200 mM เป็นเวลา 7 วัน ทำการสกัดโปรตีนทั้งหมดจากใบหม่อน และนำโปรตีนไปแยกด้วยวิธี 2 Dimensional electrophoresis แล้วจึงไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม imagemaster 2D Elite 5.0 พบว่า มีโปรตีนประมาณ 100 จุดปรากฏให้เห็นในแต่ละเจล โดยมีโปรตีนจำนวน 13 จุดที่มีการแสดงออกแตกต่างกันในใบของหม่อนสายพันธุ์ทนเค็มกับไม่ทนเค็ม จุดโปรตีนเหล่านี้จะนำไปย่อยด้วยเอนไซม์ทริปซิน และเพพไทด์ที่ได้จะนำไปวิเคราะห์ด้วย LC-MS/MS ต่อไปทำการเปรียบเทียบการแสดงออกของโปรตีนระหว่างหม่อนสายพันธุ์ส้มกับ S61 ในดินหลังจากได้รับเกลือแกงเข้มข้น 200 mM เป็นเวลา 7 วัน ทำการสกัดโปรตีนทั้งหมดจากใบหม่อน และนำโปรตีนไปแยกด้วยวิธี 2 Dimensional electrophoresis แล้วจึงไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม imagemaster 2D Elite 5.0 พบว่า มีโปรตีนประมาณ 100 จุดปรากฏให้เห็นในแต่ละเจล โดยมีโปรตีนจำนวน 13 จุดที่มีการแสดงออกแตกต่างกันในใบของหม่อนสายพันธุ์ทนเค็มกับไม่ทนเค็ม จุดโปรตีนเหล่านี้จะนำไปย่อยด้วยเอนไซม์ทริปซิน และเพพไทด์ที่ได้จะนำไปวิเคราะห์ด้วย LC-MS/MS ต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Comparing of protein expression between Som and S61 varieties were performed by addition of 200 mM NaCl for 7 days. Total proteins of the leaves were extracted and separated with two-dimensional electrophoresis (2-DE) and then analyzed with an imagemaster 2D Elite 5.0. Approximately 100 protein spots were reproducibly detected on each gel. Of these, 13 protein spots were differentially expressed under sodium chloride treatment in leaves of Som and S61 varieties. After protein spots were excised, the gel pieces were subjected to in-gel digestion and the tryptic peptides were further analyzed by LC-MS/MS.Comparing of protein expression between Som and S61 varieties were performed by addition of 200 mM NaCl for 7 days. Total proteins of the leaves were extracted and separated with two-dimensional electrophoresis (2-DE) and then analyzed with an imagemaster 2D Elite 5.0. Approximately 100 protein spots were reproducibly detected on each gel. Of these, 13 protein spots were differentially expressed under sodium chloride treatment in leaves of Som and S61 varieties. After protein spots were excised, the gel pieces were subjected to in-gel digestion and the tryptic peptides were further analyzed by LC-MS/MS.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ: หม่อน
คำสำคัญ (EN):
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การระบุเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับกลไกการตอบสนองต่อความเค็มของหม่อน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2554
พัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลเพื่อช่วยในการคัดเลือกพันธุ์หม่อนที่ทนทานต่อความเค็ม ศึกษาถึงผลตอบสนองของปุ๋ย N-P-K ต่อผลผลิตของใบ หม่อน ผลตอบสนองของปุ๋ย N-P-K ต่อผลผลิตและคุณภาพของใบหม่อน การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลเพื่อจำแนกเพศในหม่อนผลสด เปรียบเทียบพันธุ์หม่อนเพื่อการเก็บเกี่ยวผลผลิตผลหม่อน การวัดปริมาณแอนโทไซยานินและสารโพลีฟีนอลอื่นๆในหม่อน ที่ตอบสนองต่อสภาวะแล้งและอุณหภูมิต่ำ การสร้างหม่อน Tetraploid จากหม่อนที่มีความต้านทานโรครากเน่า การศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการส่งเสริมการปลูกหม่อนเพื่อผลิตชาหม่อน การเปรียบเทียบผลผลิตหม่อนที่ได้จากการติดตาบนต้นหม่อนไผ่ ระบบการให้น้ำหม่อนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตหม่อน
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก