สืบค้นงานวิจัย
ผลกระทบจากสวนยางพาราต่อยุงก้นปล่องในพื้นที่แพร่เชื้อไข้มาลาเรีย จังหวัดตรัง
นายนันทเดช กลางวัง - กรมควบคุมโรค
ชื่อเรื่อง: ผลกระทบจากสวนยางพาราต่อยุงก้นปล่องในพื้นที่แพร่เชื้อไข้มาลาเรีย จังหวัดตรัง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นายนันทเดช กลางวัง
คำสำคัญ: ยุงก้นปล่อง
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้ออกแบบเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Rcscarch) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ชีวนิสัย ความพร้อมของยุงพาหะนำเชื้อไข้มาลาเรีย และความสัมพันธ์กับช่วงเวลาการกรีดยางพารา ของประชาชน ในพื้นที่แพร่เชื้อไข้มาลาเรีย จังหวัดตรัง โดยศึกษาจำนวน 2 รอบ รอบแรกเดือน มีนาคม 2552 ซึ่งเป็นช่วงก่อนที่จะมีการกรีดยางพารา และรอบสองเดือน มิถุนายน 2552 ซึ่งเป็น ช่วงที่มีการกรีดยางและอยู่ในฤดูฝน เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ หัวหน้า ครอบครัวหรือตัวแทนเจ้าบ้านที่ปลูกยางพาราที่เปีดกรีดแล้ว และยุงก้นปล่องพาหะหลักตัวเต็มวัย โดยใช้พนักงานปฏิบัติการทดลองพาหะนำโรคของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 2..3 จังหวัด ตรัง กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ประกอบด้วยจำนวนความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
เอกสารแนบ: http://klb.ddc.moph.go.th/dataentry/research/download/textfull/703
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สถาบันราชประชาสมาสัย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลกระทบจากสวนยางพาราต่อยุงก้นปล่องในพื้นที่แพร่เชื้อไข้มาลาเรีย จังหวัดตรัง
สถาบันราชประชาสมาสัย
2561
เอกสารแนบ 1
ผลกระทบจากสวนยางพาราต่อยุงก้นปล่อง ในพื้นที่ยับยั้งการแพร่เชื้อไข้มาลาเรีย จังหวัดตรัง ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิเสธและยอมรับการพ่นเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้างท้องที่แพร่เชื้อมาลาเรียในจังหวัดชุมพร กลุ่มวิจัยยางพารา ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคของยางพารา (Hevea brasiliensis Muell.Arg.) ในพื้นที่เพาะปลูกจังหวัดสุราษฎร์ธานี การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน ผลกระทบต่อยุงก้นปล่องจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อทำสวนยางพาราในภาคะวันออก เฉียงเหนือตอนบน การยอมรับสวนยางพาราของชุมชน และการเจริญเติบโตของต้นยางพารา ในโครงการหมู่บ้านป่าไม้แผนใหม่ บ้านนาศิริอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำรวจการเลี้ยงสัตว์ในสวนยางภาคใต้

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก