สืบค้นงานวิจัย
แผ่นกันซึมดินเหนียวสังเคราะห์จากยางพาราและเถ้าปาล์มน้ำมันสำหรับรองพื้นบ่อขยะ
ภาณุ พร้อมพุทธางกูร - สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ชื่อเรื่อง: แผ่นกันซึมดินเหนียวสังเคราะห์จากยางพาราและเถ้าปาล์มน้ำมันสำหรับรองพื้นบ่อขยะ
ชื่อเรื่อง (EN): Geosynthetic Clay Liner Derived from Pararubber and OilPalm Ash for Solid Waste Landfills
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภาณุ พร้อมพุทธางกูร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: การทิ้งขยะทั้งบนพื้นดินหรือในหลุมฝังกลบจะทำให้กิดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่ง ๆ เช่น (I) เกิดกลิ่นไม่ พึงประสงค์ (2) เกิดน้ำขยะ และ (3) น้ำขะอาจไหลไปสัมผัสกับน้ำใส้ดิน ตังนั้นในปัจจุบันจึงเป็น เรื่องปกติสำหรับการใช้แผ่นกันซึมดินเหนียวสังเราะห์เป็นตัวป้องกันไม่ให้น้ำขยะไหลไปสัมผัสกับ น้ำให้ดิน โดยทั่วไป แผ่นกันซึม1 ทำจกดินเหนียวเบนไทไนต์และจีไอเท็กซ์ไทล์ ตัวแกนดินเหนียว ทำหน้ที่เป็นชั้นทึบน้ำในขณะที่โอเท็กซ์ไทล์ทำหนัที่เป็นตัวกรองส่วนที่เป็นของแข็ง ปัญหาก็คือ ไม่มีโรงงานในประเทศที่ผลิจแผ่นกันซึมฯ ซึ่งหมายความว่าต้องมีการนำเข้าเพื่อใช้งาน วัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้คือการพัฒนาแผ่นกันซึมหินเหนียวสังเคราะห์ที่ใช้แต่วัสดุ ภายในประเทศ ตัวแกนกลางตินเหนียวทำจากศินตาไอสิไนค์ที่ผลิตในจังหวัดระนองผสมกับเถ้ำา ปาล์มน้ำมันที่ด้มาโดยไม่มีต่ำใช้จำช อัตราส่นผสมระหว่างหินเหนียวและเถ้ำปาล์มฯที่ทสอบคือ 100:0. 80-20 70:34, 60:40, and 50:50 นอกจากนั้นยังใช้น้ำขางคอมปาวค์เป็นตัวประสานสำหรับ ส่วนผสม วัสดุปิดแกนกลางตินเหนียวทำจากติบเคลือบน้ำขางตอมปวด์บาง ๆ เพียงานเดียว เพื่อ ตรวจสอบว่าแผ่นกันซึมฯ ที่พัฒนาขึ้นมาสามารถนำไปใช้ริงในสนามได้หรือไม่ มีการทดสอบเพื่อ ตรวจสอบคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติทงวิศวกรรม ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าขนาดอนุภาค เฉลี่ยของทั้งดินเหนียวฯ และเถ้าปาล์มฯ คือ 0.0129 และ 0.0172 มิลลิมตร คุณสมบัติการซึมผ่านได้ ของน้ำมีค่าสูงสุดเมื่อส่วนผสมไม่มีปริมาณเถ้ำปาล์ม เมื่อส่วนผสมมีปริมาณเถ้ำาปาล์มมากขึ้น พบว่า ดำการซึมผ่านได้ฯ มีต่ำาลลลงตามลำตับ และมีต่ำต่ำสุดเมื่อส่วนผสมมีปริมาณเถ้ำาปาล์ม 30% ซึ่งแสดง ให้เห็นว่าส่วนผสมดังกล่าวมีประสิทธิภาพมากที่สุดในแง่ของการป้องกันการไหอซึมของน้ำขอะ กำลังต้านทานการเจะทะลุและกำลังตันทานแรงดึงเปืนคำตัวแปรที่สำคัญที่สุดสำหรับวัสดุหุ้ม ผล การทดสอบแสดงให้ห็นว่ากำลังนทานการเจาะทะลุของแผ่นต่ำคิบเคลือบน้ำยางคอมปาวด์มีคำ มากกว่ที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน แต่พบว่ากำลังตันทานแรงดึงมีคำนัอยกว่ามาตรฐาน อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ต้องพิจารณาประกอบคือ กำลังตัานทานแรงดึงอ้างอิงจากจีไอเท็กซ์ไทล์ที่ ไดยปกติไช้ในงาน วิสวกรรมไซธาอื่น ๆ ที่ตั้องการวัสดุที่ก่อนช้งแข็งแรง แต่สำหรับกรณีนี้ แผ่นกันซึมฯ ถูกฝังได้ดิน และจะมีแรงตึงกระทำต่อวัสดุน้อยมาก ดังนั้นเมื่อพิจารณาในแง่ของวิศวกรรม วัสดุหุ้มที่พัฒนาขึ้น มามีคุณสมบัติเพียงพอสำหรับการเป็นแผ่นกันซึมฯ นอกจากนั้น จากการวิทราะห์ดันทุนสำหรับการ ผลิตแผ่นกันชื่มฯ พบว่า มีราตาประมาณ 1 13 บาท อ ารางเมตร เมื่อนำไปเปรียบเท็ยบกับแผ่นกัน ซึมๆ ที่ขายกันทั่วไปซึ่งมีราคา 300 - 300 บาท จึงอาจสรุปได้ว่า เรากวรผลิจแผ่นกันซึมฯ แทนที่การ นำเข้า
บทคัดย่อ (EN): Dumping municipal solid waste (MSW) either over the land or into a pit will cause environm problems: (1) the odour generated is not pleasant, (2) the leachate will be generated, and (3) the leachate would contaminate the groundwater. As such, it is currently customary to employ geosynthetic clay liners (GCL) as a buffer in order to prevent the leachate to have ac contact with the groundwater. They are normally made from bentonite clay and geotextiles. The former acts as almost impermeable layer, while the latter filters some solid particles. Unfortunately, there are no manufacturers in Thailand producing the GCL, meaning it must be ported. The main objective of this project was to develop a GCL using local materials. The clay core was produced from kaolinite mined in Ranong mixed with oil palm ash (OP.A) that can be freely obtained, The chay to OPA ratios were varied from 100:0, 80:20, 70:30, 60:40, and 50:50. In addition. c compound latex was as applied to the mixtures as binder. The wrapper was made from unbleached cloth that was thinly one-side coated with the compound latex. Both basc and engineering properties then were determi mined in order to to evaluate whether tbe GCL developed had quality that could be employed in the field. It was found that the average particle sizes for the clay and OPA were 0.0129 and 0.0172mm, respectively. The permeability was highest when there was no OPA added. When the OPA was increased, however, the permeability gradually decreased; and, the lowest value was achieved when the OPA was 30%, indicating the most effective mix in terms of preventing the flow of leachate. The punching resistance and tensile strength are ones of tbe most important parameters for the wrapper. It was found that the wrapper developed had more than enough punching resistance. However, its tensile strengih was lower than the value set by the standard. Please be noted that the strength indicated was from tbe geotextiles sormally used in other civil engineering work that needs quite strong material. In this case, however, the GCL is buried underground and there is little tensile strength generated. Thus, from engineering point of view, the wrapper developed is good enough to be employed as GCL. In In addition, the cost for developing the GCL was found to be approximately 113 Thai Baht per square metre. Comparing to the comm mercial GCLs that cost around 300 - 500 Thai Baht, it may be comcluded that it is advisable to produce our own GCL instead of import.
ชื่อแหล่งทุน: T2560003 ทุนวิจัยมุ่งเป้า ปีงบประมาณ 2560 ยางพารา
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2560
เผยแพร่โดย: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
แผ่นกันซึมดินเหนียวสังเคราะห์จากยางพาราและเถ้าปาล์มน้ำมันสำหรับรองพื้นบ่อขยะ
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
2560
กลุ่มวิจัยยางพารา การทดสอบและสาธิตเทคโนโลยีการจัดการสวนปาล์มน้ำมันในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ปีที่3 การทดสอบและสาธิตเทคโนโลยีการจัดการสวนปาล์มน้ำมันในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ปีที่3 การผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์ม การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ปี 2555 ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจปลูกแทนยางพาราและปาล์มน้ำมัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก