สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาสภาวะเศรษฐกิจสังคมของการเลี้ยงปลาโมงในกระชัง ในแม่น้าโขง จังหวัดนครพนม
ศิราณี งอยจันทร์ศรี - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การศึกษาสภาวะเศรษฐกิจสังคมของการเลี้ยงปลาโมงในกระชัง ในแม่น้าโขง จังหวัดนครพนม
ชื่อเรื่อง (EN): Socioeconomics Study of Pangasius bocourti Sauvage, 1880 Cage Culture in Mekong River, Nakhon Phanom Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศิราณี งอยจันทร์ศรี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: วิระวรรณ ระยัน
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Pangasius bocourti Sauvage, 1880, cage culture, socioeconomic, Mekong River
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจสังคม รูปแบบและเทคนิคการเลี้ยง ต้นทุนการผลิต การตลาดและสภาพปัญหาของการเลี้ยงปลาโมงในกระชังในแม่น ้าโขง จังหวัดนครพนม โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกร 132 ราย จากทะเบียนเกษตรกร ปี 2547-2548 ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่เป็ นชาย มีอายุเฉลี่ย 46.8 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เกษตรกรมีแหล่งเงินทุนที่ใหญ่ที่สุด คือ กองทุนหมู่บ้าน โดยมีหนี้สินเฉลี่ย 46,000.75 บาท แหล่งเลี้ยงส่วนใหญ่อยู่ที่อ าเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เกษตรกรมีประสบการณ์การเลี้ยงปลาโมงในกระชังเฉลี่ย 5.2 ปี ส่วนมากเลี้ยงปลาโมงเนื่องจากเป็นปลาพื้นเมือง สามารถรวบรวมลูกพันธุ์ได้เองจากธรรมชาติ และเริ่มเลี้ยงปลาโมงระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายนของปี นิยมเลี้ยงเดี่ยว ขนาดกระชังเฉลี่ย 10 ลูกบาศก์เมตร จ านวนกระชังเฉลี่ย 2.5 กระชังต่อราย อัตราการปล่อยเฉลี่ย 124.6 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร ขนาดลูกปลาที่เริ่มเลี้ยงมีความยาวเฉลี่ย 2.7 นิ้ว ส่วนใหญ่ใช้อาหารเม็ดส าเร็จรูป โดยให้อาหารปลาทุกวันในตอนเย็น ใช้ระยะเวลาประมาณ 11.2 เดือน จับปลาจ าหน่ายขนาดเฉลี่ย 567.5 กรัม ต้นทุนด าเนินการเฉลี่ย 28,285.32 บาท เป็ นค่าพันธุ์ปลา 4,065.27 บาท ค่ากระชัง 964.72 บาท และค่าอาหารปลา 19,453.37 บาท ผลผลิตเฉลี่ยตลอดปี761.5 กิโลกรัม มีราคาจ าหน่ายเฉลี่ย 59.6 บาทต่อกิโลกรัม ค านวณเป็ นรายได้จากการจ าหน่ายปลาโมงประมาณ 52,334.59 บาทต่อปี รายได้สุทธิประมาณ 20,049.27 บาทต่อปี ตลาดท่าอุเทนมีปริมาณผลผลิตปลาโมงที่จ าหน่าย7,989.29 กิโลกรัมต่อปี ร้อยละ 72.97เป็ นปลาที่ได้จากการเลี้ยงในกระชังในแม่น ้าโขง ปัญหาส่วนใหญ่ในการเลี้ยงเป็ นการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง ปัญหาการตลาด ปัญหาลักขโมยและปลาตายในช่วงฤดูหนาว เกษตรกรเรียกร้องให้ทางราชการช่วยเหลือปัญหาอาหารปลาราคาแพง และพันธุ์ปลาไม่เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550
เอกสารแนบ: http://www.inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=40
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาสภาวะเศรษฐกิจสังคมของการเลี้ยงปลาโมงในกระชัง ในแม่น้าโขง จังหวัดนครพนม
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2550
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
โครงการศึกษาภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ปัญหา และความต้องการของชาวนา ผลของความหนาแน่นที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตปลาโมง(Pangasius bocourti Sauvage,1880) ในกระชังในแม่น้ำโขง การเลี้ยงปลาโมงในกระชังด้วยอัตราปล่อยต่างกัน การเลี้ยงปลาโมงในกระชังเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ุ การเลี้ยงปลากะพงแดงในกระชังโดยใช้ อาหาร 3 ชนิด ผลของความหนาแน่นที่มีต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตปลาโมง ในกระชังในแม่น้ำโขง การศึกษาสภาวะเศรษฐกิจสังคมของการเลี้ยงปลานิลในกระชังของเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร การศึกษาสมรรถนะการเจริญเติบโต คุณภาพเนื้อและคุณภาพซาก ของปลาโมงและปลาโมงลูกผสม จากการเลี้ยงในกระชัง ประสิทธิภาพและการจัดการระบบกรองชีวภาพขนาดใหญ่สำหรับเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลาทะเล การเลี้ยงปลาซิวใบไผ่เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ด้วยอาหารต่างกัน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก