สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา (ปีที่ 1)
นายศุภกิจ ต้นวิบูลย์ศักดิ์ - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา (ปีที่ 1)
ชื่อเรื่อง (EN): A Study on Consumptive Use of Sacha inchi 1st year
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นายศุภกิจ ต้นวิบูลย์ศักดิ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): MR.SUPPHAKIT TONWIBOONSAK
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): water consumption
หมวดหมู่: อื่นๆ
หมวดหมู่ AGRIS: P ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (Natural resources)
บทคัดย่อ: การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึง 30 พฤศจิกายน 2559 รวมอายุ 366 วัน ผลการศึกษามีดังนี้ มีปริมาณการใช้น้ำที่คำนวณได้จาก ถัง Lysimeter ตลอดการศึกษา เท่ากับ 1,961.77 มิลลิเมตร หรือ 5.36 มิลลิเมตรต่อวัน มีค่าสัมประสิทธิ์ของถาดวัดการระเหยเบ็ดเสร็จ (K/p) ตลอดการศึกษา 1.13 มีปริมาณการใช้น้ำของพืชอ้างอิง (Reference Crop Evapotranspiration ETo) สมการ Modified Penman, Blaney-Criddle, E–Pan, Hargreaves, Radiation, และ Penman Monteith เฉลี่ยเท่ากับ 5.72,4.67,4.00,5.26,5.10 และ 4.53 มิลลิเมตร มีค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำ (Crop coefficient, Kc) สมการ Modified Penman, Blaney - Criddle, E-Pan, Hargreaves, Radiation และ Penman Monteith เฉลี่ยเท่ากับ 0.96, 1.08, 1.32, 1.00, 1.08 และ 1.17 ค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำของถั่วดาวอินคา (Crop coefficient Kc) ที่ได้จากสมการของ Penman Monteith คือ 1.17 เป็นค่าที่ใกล้เคียงกับ ค่าสัมประสิทธิ์ของถาดวัดการระเหยเบ็ดเสร็จ (K/p) 1.13 มากที่สุด รองลงมาคือค่าที่ได้จากสมการของ Blaney - Criddle คือ 1.08 และ Radiation คือ 1.08 ส่วนการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วดาวอินคา จากการทดลองครั้งนี้ พบว่า ถั่วดาวอินคา มีความยาวเถาเฉลี่ย 336.75 เซนติเมตร จำนวนแขนงต่อต้น เฉลี่ย 40.00 แขนง เส้นรอบวงโคนต้น เฉลี่ย 13.75 เซนติเมตร ความยาวของใบ 12.90 เซนติเมตร ความกว้างของใบ 9.90 เซนติเมตร จำนวนฝักเฉลี่ยต่อต้น75.75 ฝัก เส้นผ่าศูนย์กลางฝัก 3.50 เซนติเมตร และน้ำหนักฝักแก่ต่อต้นเฉลี่ย 380.00 กรัม
บทคัดย่อ (EN): A Study on Consumptive Use of Sacha inchi fruit took place at the experimental station for irrigation 5 (Mae Klong Yai) A. Kampaengsaen, Nakorn Pathom from December 1, 2015 until November 30, 2016 totaling 366 days. The study shows the amount of water used as calculated at Lysimeter Tank, throughout the study period, to be 1,961.77 mm. averaging at 5.36 mm. per day. The coefficient of water at the integrated pan evaporation (K/p) averaging throughout the test period was 1.13 Volume of water used in terms of (Reference Crop Evapotranspiration ETo) with equation of Modified Penman, Blaney - Criddle, E – Pan, Hargreaves, Radiation, and Penman Monteith averaging 5.72, 4.67, 4.00, 5.26, 5.10 and 4.53 mm. with coefficient of water for Sacha inchi fruit (Crop coefficient, Kc) equation of Modified Penman, Blaney Criddle, E- Pan Hargreaves, Radiation, and Penman Monteith averaging 0.96, 1.08, 1.32, 1.00, 1.08 and 1.17 The coefficient of water of (Crop coefficient Kc) derived from the equation of Penman Monteith is 1.17 is close to that of the coefficient of water at the integrated pan evaporation (K/p) highest at 1.13 The second is the value obtained from Equation of Blaney - Criddle 1.08 and Radiation 1.08 As for the growth of Sacha inchi fruit, from this study it was found that the average height was 336.75 cm., the width of the canopy averaging at 40.00 cm. and average length of per plant 13.75 g. The average width of the leaves was 12.90 cm. and average Fruit length 9.90 cm. Fruit per plant the average diameter 3.50 cm. weight average 380.00 grams.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: กรมชลประทาน
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: สวพ. 19/2559
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 184515
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 343,900
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
เอกสารแนบ: https://drive.google.com/file/d/1dV9hn7NZmXrv1pFJL032NVRSqjyXEpWw/view?usp=share_link
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 5 (แม่กลองใหญ่)
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: พ.ศ.2558-2559
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2559
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ (กรมชลประทาน) (rada_ru@rid.go.th) on 2018-04-20T08:33:09Z No. of bitstreams: 1 การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา (ปีที่ 1).pdf: 475953 bytes, checksum: 6d37f924326b161e9bfb69592612027f (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา (ปีที่ 1)
สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน
2560
เอกสารแนบ 1
กรมชลประทาน
การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา ปีที่1 การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของทับทิม (ปีที่ 2) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของมะนาว (ปีที่3) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของถั่วท่าพระสไตโล ปีที่ 1 การหาปริมาณการใช้น้ำของสบู่ดำ (ปีที่3) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของฟักข้าวปีที่ 2 การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 3) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำดอกชมจันทร์ ปีที่ 2 การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำที่เหมาะสมของมะเขือเทศราชินี ปีที่ 1 การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของชมพู่พันธุ์เพชรสายรุ้ง (ปีที่3)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก