สืบค้นงานวิจัย
สภาวะการประมงอวนลากในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556
ภัคจุฑา เขมากรณ์ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
ชื่อเรื่อง: สภาวะการประมงอวนลากในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556
ชื่อเรื่อง (EN): The Fishery Status of Trawlers in Nakhon Si Thammarat and Songkhla Provinces in 2013
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภัคจุฑา เขมากรณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): -
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): -
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: ศึกษาสภาวะการทาประมงอวนลากที่ขึ้นท่าในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลาระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม ปี 2556 พบว่าอวนลากแผ่นตะเฆ่มี 2 ประเภท คือ อวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก (ขนาดความยาวเรือ < 14 เมตร) และอวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดกลาง (ขนาดความยาวเรือ 14-18 เมตร) โดยเรืออวนลากทั้ง 2 ประเภททาการประมงตลอดปี ใช้เครื่องยนต์ขนาด 150-500 แรงม้า จานวนลูกเรือ 3-6 คน และใช้ขนาดตาอวนก้นถุงประมาณ 22 มิลลิเมตร แต่เรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็กทาการประมงในบริเวณที่มีความลึกน้า 12-30 เมตร บริเวณหน้าอาเภอเมือง และระโนด จังหวัดสงขลา อาเภอหัวไทร ปากพนัง สิชล และขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ระยะเวลาออกทาการประมง 1-15 วัน/เที่ยว ส่วนเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดกลางทาการประมงอยู่บริเวณที่มีความลึกน้า 20-60 เมตร ตั้งแต่บริเวณหน้าจังหวัดสงขลา ขึ้นไปจังหวัดนครศรีธรรมราช จนถึงเกาะสมุย และเกาะพะงัน จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระยะเวลาออกทาการประมง 5-20 วัน/เที่ยว อวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็กมีอัตราการจับเฉลี่ยตลอดการศึกษาเท่ากับ 17.493±2.634 กิโลกรัม/ชั่วโมง ผลจับประกอบด้วยกลุ่มสัตว์น้าเศรษฐกิจ ร้อยละ 57.84 และกลุ่มปลาเป็ด ร้อยละ 42.16 ส่วนอวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดกลางมีอัตราการจับเฉลี่ยตลอดการศึกษาเท่ากับ 81.624±23.928 กิโลกรัม/ชั่วโมง ผลจับประกอบด้วย กลุ่มสัตว์น้าเศรษฐกิจ ร้อยละ 50.15 และกลุ่มปลาเป็ด ร้อยละ 49.85 สาหรับขนาดความยาวเฉลี่ยของสัตว์น้าที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจที่จับได้โดยเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดกลางส่วนใหญ่มีขนาดสูงกว่าที่จับได้โดยเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก
บทคัดย่อ (EN): The study on the fishery status of trawlers in Nakhon Si Thammarat and Songkhla Provinces was conducted during January-December 2013. It was found that there were 2 types of otterboard trawlers, namely small otterboard trawlers (vessel length < 14 meters) and medium otterboard trawlers (vessel length 14-18 meters). Both types of them operated throughout the year. They used trawl nets with 22 millimeters of codend mesh size and were equipped with 150-500 horse-power engine and 3-6 manpower. However, small otterboard trawlers operated for 1-15 days/trip in the areas of 12-30 meters of water depth of Muang and Ranot Districts, Songkhla Province, and Huasai, Pakphanang, Sichon and Kanom Districts, Nakhon Si Thammarat Province, whereas medium otterboard trawlers operated for 5-20 days/trip in the areas of 20-60 meters of water depth from Songkhla Province to Nakhon Si Thammarat Province and Koh Samui and Phangan of Surat Thani Province. The average catch per unit effort (CPUE) during the study period of small otterboard trawlers was 17.493±2.634 kilogram/hour with the catch composition consisting of 57.84% of economic species group and 42.16% of trash fish group. For medium otterboard trawlers, their average CPUE was 81.624±23.928 kilogram/hour with the catch composition consisting of 50.15% of economic species group and 49.85% of trash fish group. The average sizes of economic species caught by medium otterboard trawlers were mostly bigger than the ones caught by small otterboard trawlers.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ:
เลขทะเบียนวิจัยกรม: 57-0410-57025
ชื่อแหล่งทุน: -
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: -
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 0
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: จังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: 2556-2557
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): -
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะการประมงอวนลากในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556
กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
2557
เอกสารแนบ 1
การประมงอวนล้อมจับจากเรือที่ขึ้นท่าในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556 ศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมง เพื่อกำหนดเขตการประมง (Zoning) บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา สภาวะการประมงและการประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้ำขนาดเล็กของเรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา สภาวะการทำการประมงปลากุเรา Eleutheronema tetradactylum (Shaw, 1804) ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา การประมงอวนลากคานถ่างที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์จากจังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการประมง 2561 การประมงและสภาวะเศรษฐกิจสังคมของอวนจมปูจากเรือที่มีการแจ้งเข้า–ออกในจังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2562 สภาวะการประมงพาณิชย์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2552 การประมงและการควบคุมเฝ้าระวังการประมงอวนลากที่แจ้งเข้าออก ผ่านศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกภูเก็ต ปี 2562 การประมงหมึกกระดองจากเครื่องมืออวนลากพาณิชย์ในอ่าวไทย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการระบาดของโรคข้าวในนาชลประทานที่ปลูกต่อเนื่องในจังหวัดพัทลุง สงขลา และนครศรีธรรมราช

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก