สืบค้นงานวิจัย
ความหลากหลายทางชีวภาพและคุณค่าทางเศรษฐกิจในป่าไม้ของชุมชน วัด โรงเรียน และโบราณสถาน ในจังหวัดนครราชสีมา ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี -มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อพ.สธ.-มทส.)
ผศ.ดร.พงศ์เทพ สุวรรณวารี - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: ความหลากหลายทางชีวภาพและคุณค่าทางเศรษฐกิจในป่าไม้ของชุมชน วัด โรงเรียน และโบราณสถาน ในจังหวัดนครราชสีมา ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี -มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อพ.สธ.-มทส.)
ชื่อเรื่อง (EN): Biodiversity and economics values of community, temple, school and ancient monument’s forests in Nakhon Ratchasima province, under Plant Genetic Conservation Project Under The Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn –Suranaree University of Technology (RSPG- SUT)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ผศ.ดร.พงศ์เทพ สุวรรณวารี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Assoc. Prof.Pongthep Suwanwaree
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและคุณค่าทางเศรษฐกิจในป่าไม้ของชุมชนจํานวน 8 แห่ง ใน 8 อําเภอของจังหวัดนครราชสีมา ในปี 2557 โดยการสําภาษณ์ชาวบ้านจํานวน 25 คน ต่อป่าชุมชน ผล การสํารวจพบว่า ป่าชุมชนเขาสามสิบส่างและเขาเขียวมีมูลค่ารวมของผลผลิตสุทธิมากที่สุดถึง 594,430 บาท ทําให้แต่ละครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยถึง 11,889 บาท/ปี รองลงมาคือป่าชุมชนเมืองลับแล (273,975 บาท) บ้าน มาบกราด (240,659 บาท) โคกหนองงาช้าง (124,679 บาท) บานซับพงโพด (64,131 บาท) บ้านวังไผ่ (54,747 บาท) และบ้านดอนจันทร์ (54,747 บาท) ตามลําดับ ผลิตผลรวมที่มีมูลค่ามากที่สุดคือเห็ดป่า (743,485 บาท) รองลงมาคืออึ่ง (378,343 บาท) ไข่มดแดง (214,699 บาท) ผักหวาน (52,039 บาท) และ หน่อไม้ (18,793 บาท) ตามลําดับ ปริมาณผลผลิตที่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของป่า และจิตสํานึกในการอนุรักษ์ของ ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง
บทคัดย่อ (EN): We conduct biodiversity and economic survey of 8 community forests in 8 districts of Nakhon Ratchasima province in 2014. We interviewed 25 villagers near each community forest. The results showed that Samsipsang and Kao Kiew community forest had the highest net profit of forest product for ฿ 594,430 and had an average net household profit of ฿ 11,889/year, followed by Muang Lablay (฿ 273,975) Ban Mabkrat (฿ 240,659) Kok-ngachang (฿ 124,679) Ban Sabpongpod (฿ 64,131) Ban Wangpai (฿ 54,747) and Ban Donjan (฿ 54,747), respectively. The most valuable forest product was mushroom (฿743,485), followed by bullfrog (฿ 378,343) ant egg (฿ 214,699) star gooseberry (฿ 52,039) and bamboo sprout (฿ 18,793), respectively. The amount of forest product was related to forest size and conservation awareness of people around that community forest
เลขทะเบียนวิจัยกรม: SUT1-104-56-12-10
ชื่อแหล่งทุน: สำนักงบประมาณ
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 200,000
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความหลากหลายทางชีวภาพและคุณค่าทางเศรษฐกิจในป่าไม้ของชุมชน วัด โรงเรียน และโบราณสถาน ในจังหวัดนครราชสีมา ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี -มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อพ.สธ.-มทส.)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2556
เอกสารแนบ 1
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ฐานข้อมูลจีโนไทป์ของเชื้อพันธุกรรมพืชตระกูลแตง การผลิตอาหารสัตว์จากขยะอินทรีย์ของชุมชน แนวโน้มตลาดอาหารเสริมสุขภาพจากพืช การศึกษาพันธุ์พืชสมุนไพรและการใช้ประโยชน์ เพื่ออนุรักษ์พันธุกรรมพืช การทดลองปลูกขยายพันธุ์พืชบางชนิด ที่สำรวจพบในพื้นที่ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา อ.เมือง จ.พะเยา โครงการจัดทำฐานข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ของไทย การศึกษามาตรฐานและสารสำคัญจากพืชสมุนไพร ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้นที่เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ความหลากหลายทางชีวภาพและคุณค่าทางเศรษฐกิจในป่าไม้ของชุมชน วัด โรงเรียน และโบราณสถาน ในจังหวัดนครราชสีมา ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก