สืบค้นงานวิจัย
แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการแปรรูปยางพาราของสหกรณ์กองทุนสวนยางในจังหวัดสงขลา
สุระพรรณ์ จุลสุวรรณ์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ชื่อเรื่อง: แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการแปรรูปยางพาราของสหกรณ์กองทุนสวนยางในจังหวัดสงขลา
ชื่อเรื่อง (EN): ECONOMIC
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุระพรรณ์ จุลสุวรรณ์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพส่วนใหญ่ของคนในประเทศเป็นเป้าหมาย สำคัญของการพัฒนาเพื่อสร้างการเจริญเดิบโตทางเศรษฐกิจมาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป็น กระบวนการพัฒนาที่สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน สหกรณ์กองทุน สวนยาง(โรงรมยาง) เป็นองค์กรที่รัฐ ใช้เป็นกลไกในการดำเนินการสนับสนุนและส่งเสริม ด้านการตลาดและการแปรรูปยางเพื่อสร้างมูลคำเพิ่มให้กับยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่ สร้างรายได้ให้กับประเทศประมาณปีละ แสนล้านบาท แต่การดำเนินงานในปัจจุบันยังมีปัญหา อุปสรรคและข้อจำกัด ดังนั้น การวิจัยนี้จึงได้กำหนดวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพตลาด ยางพารา (2) เพื่อศึกษากระบวนการแปรรูป ต้นทุน และผลตอบแทนในการแปรรูปยางพาราแต่ละ ประเภท (3) เพื่อศึกษาศักยภาพการแปรรูปยางพาราของโรงรมยาง และ (4) เพื่อวิเคราะห์แนว ทางการแปรรูปยางพาราที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตยางพารา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมุ่ง การสัมภาษณ์เชิงลึกและศึกษาเอกสาร จากบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในช่วงปี พ.ศ. 2555 เพื่อ นำผลการศึกษาไปใช้ประกอบการกำหนดมาตรการ/นโขบายในการเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของสถาบันเกษตรกรในโอกาสต่อไป ผลการวิจัยจำแนกตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อ ดังนี้ (1) สภาพตลาดขางพารา พบว่า การผลิต ยาง ในช่วงปี พ.ศ. 2550-2552 ผลผลิตยางลดลงซึ่งเป็นผลมาจากเกิดภัยพิบัติในหลายประเทศ ใน เวลาต่อผลผลิตปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สภาพการใช้ยาง ในช่วงปี พ.ศ. 2553 มีการใช้ยางเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศจีนและอินเดียมีความต้องการใช้ยางจำนวนมาก ส่วนประเทศไทยเป็นประเทศที่มี การผลิตยางพารามากที่สุด แต่กลับเป็นประเทศที่มีการใช้ยางพาราน้อยมากเพียงประมาณร้อยละ 11 ของผลผลิต การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยางแห่งมากที่สุดร้อยละ 40.77 ในขณะที่ตลาดมีแนวโน้มใช้ ยางผสมเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก (2) กระบวนการแปรรูป ดันทุน และผลตอบแทนในการแปรรูป ยางพาราแต่ละประเภท พบว่า ดันทุนหลักในการแปรรูปของสหกรณ์กองทุนสวนยางคือ น้ำยางสด ร้อยละ 95 ในขณะที่ค่าจ้างแรงงานและค่าไม้ฟื้นมีส่วนแบ่งต้นทุนที่ ใกล้เคียงกันคือร้อยละ 2.54 และ 2.02 ตามลำดับ ส่วนผลตอบแทนขึ้นอยู่กับผลต่างระหว่างดั้นทุนในการแปรรูปและราคาขาย ของผลิตภัณฑ์ที่ผลิต (3) ศักยภาพการแปรรูปยางพาราของโรงรมยาง พบว่า สมาชิกมีความมั่นใจ ต่อการคำเนินงานของสหกรณ์ นโขบายรัฐส่งเสริมและให้การสนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยี การผลิตในการแปรรูปยางพาราเพื่อสร้งมูลค่พิ่มให้กับยางพาราเพื่อให้มีผลผลิตที่หลากหลายได้ มาตรฐาน ตรงกับความต้องการของตลาดโลก โดขมีข้อดีคือเป็นองค์กรที่สถาบันเกษตรกรเป็น ผู้ดำเนินการเอง และสถานที่ตั้งของโรงรมอยู่ในชุมชนที่เป็นแหล่งผลิตยาง อย่างไรก็ตามนอกจาก โรงรมจะมีการให้ความสำคัญกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราเพื่อเพิ่มมูลค่ายางแล้ว ขังมีการ พัฒนานวัตกรรมเพื่อลดต้นทุนการผลิต เช่น การทำแก๊สชีวมวลจากน้ำเสียของโรงรมยางจาก กระบวนการแปรรูปขาง แต่พบว่าการคำเนินงานของโรงรมยางขังมีปัญหาและอุปสรรคในการ ดำเนินการ เช่น เตาอบรมควันอยู่ในสภาพไม่พร้อม สมาชิกขังขาคความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของ สหกรณ์ มีต้นทุนดำเนินการที่สูงขึ้น ในขณะที่ผู้ผลิตขังไม่สามารถกำหนดราดาขายได้เนื่องจาก ราคาขางพาราชังขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดโลก และ(4 แนวทางการแปรรูปยางพาราที่ เหมาะสมเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตยางพาราตามห่วงโซ่อุปทาน พบว่า การแปรรูปน้ำยางสดเป็นยาง แผ่นดิบสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มเฉลี่ย 8.72 บาทต่อกิโลกรัม การแปรรูปขางแผ่นดิบเป็นยางแผ่น รมควัน สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มเฉลี่ย 3.10 บาทต่อกิโลกรัม การแปรรูปยางแผ่นรมควันชั้น 3 เป็น ยางลูกขุน สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มเฉลี่ย 2.50 บาทต่อกิโลกรัม การแปรรูปยางก้นถ้วย/เศษยางเป็น ขางแห่ง STR20 สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้เฉลี่ย 19.47 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งขั้นตอนนี้ถือเป็น ขั้นตอนที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ยางได้สูงที่สุด และเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุด ยกเว้น บางช่วงที่ราคาน้ำชางสดซึ่งไม่ผ่านกระบวนการแปรรูปแต่มีราคาสูงกว่ายางแผ่นดิบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ความต้องการวัดถุดิบของอุดสากรรมปลายน้ำ ดังนั้นสหกรณ์ควรปรับปรุงเทด โนโลขีการผลิตยาง ต้นน้ำและกลางน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการของอุตสากรรมต่อเนื่องและความด้องการ ผลิตภัณฑ์ของประเทศผู้ใช้ยางหลัก เช่น ปัจจุบันจีนมีความต้องการยางคอมปาวค์เพื่อใน กระบวนการผลิตอุตสาหกรรมปลายน้ำในอุตสาหกรรมยานยนต์ของจีน ทำให้ 4-5 ปีที่ผ่านมา สหกรณ์ขนาดใหญ่หันมาลงทุนขยายกิจการแปรรูปเป็นยางคอมปาวด์ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์กลางน้ำที่ สร้างรายได้สูงให้กับสหกรณ์ เพราะเป็นการต่อยอดจากยางแผ่นรมควันซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ต้นน้ำที่ ดำเนินการผลิตอยู่แล้วให้มีห่วงโซ่การผลิตที่ยาวขึ้น
บทคัดย่อ (EN): The value added of agricultural products is the main policy of the government in order to increase economic growth and generate jobs and income for the farmers. The Rubber Plantation Fund Cooperatives (RPFC) is a mechanism that government used to support the marketing and processing to added value to the rubber which is generates revenue for the country each year about 6 trillion baht. But the operation of RPFC is also problems and constraints. This research has 4 objectives include 1) to study the rubber market. 2) to study the process of processing, cost and return in each category. 3) to study the RPFCs potential on rubber processing and 4) to analyze the appropriate model for value added processing of rubber. The research use quantitative methods by in-depth interview from people and relevant agencies and study documents in the year 2012. The study results will be used for policy measures to increase the competitiveness of RPFC. The results of research classified by objectives are as follows; (1) The rubber market: The rubber production during the year 2007 - 2009 decreased as a result of disaster in many countries later that the production increased continuously. In the year 2010 the used of rubber increased since the demand of China and India. In Thailand which is produce the most of rubber but there is very little used just 11% of production. There are processed into block rubber most 40.77% while global market have tendency to used compound rubber. (2) The process of processing, cost and return in each category: The cost of rubber processing consists with latex 95%, wages 2.54 and fired wood 2.02% respectively. The return depends on the difierence between the cost of processing and the selling price of each product. (3) The RPFCs potential on rubber processing: Members are confident on the operation of RPFC due to the governments policy is to promote financial and technology for processing in order to increase the value added and variety of products for compliance with the standards and needs of the market. The operation of RPFC still has obstacles: oven smoked is not available, lack of knowledge and understanding on management make the high operation costs, and the producers are not able to determine the selling price because the price depend on the needs of the global market. Thus, RPFC should to develop innovation to reduce production costs and take advantage of the residual material in order to continue the business. And (4) The appropriate model for value added processing of rubber: The rubber processing in each category is able to create value added as follows; Latex into raw rubber sheet average 8.72 bahtkilogram, Raw rubber sheet into rubber smoked sheet (RSS) average 3.10 baht/kilogram, RSS3 into Technically Specified Rubber (TSR) average 2,50 baht/kilogram, and cup lump into STR20 average 19.47 baht/kilogram which is the most value added processing and the most appropriate. The RPFC should improve production technology from upstream and midstream to meet the market demand in order to added value and created income to farmers.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-04-23
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-04-23
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการแปรรูปยางพาราของสหกรณ์กองทุนสวนยางในจังหวัดสงขลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
23 เมษายน 2554
การสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวอินทรีย์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทข้าวหอมมะลิผ่านการสื่อสารการตลาดสู่ตลาดอาเซียน การศึกษาห่วงโซ่อุปทานเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อการส่งออก : กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก การสกัดน้ำมันอะโวคาโดและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลอะโวคาโด แนวทางการทำตลาดสุกรอินทรีย์ (หมูหลุม) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเขตภาคเหนือ ทัศนคติที่มีผลต่อการชำระหนี้ของเกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรที่เข้าร่วมโครงการพักชำระหนี้ในจังหวัดสงขลา การสร้างนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษแก่ชาวนาข้าวอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวอินทรีย์ ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการพัฒนาความเป็นตัวตนที่แท้จริงให้กับอาหารท้องถิ่นใน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านการเล่าเรื่อง การวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลไม้ในเขตภาคเหนือเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในกระชังร่วมกับปลาหมอเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และความปลอดภัยด้านอาหาร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก