สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาระบบกรีดที่เหมาะสมในยางพาราเปิดกรีดใหม่บนพื้นที่เพาะปลูกของจังหวัดพะเยา ประเทศไทย
กิตติ สัจจาวัฒนา - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาระบบกรีดที่เหมาะสมในยางพาราเปิดกรีดใหม่บนพื้นที่เพาะปลูกของจังหวัดพะเยา ประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Tapping System on Young Rubber Tree in New Planted Area in Phayao Province, Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: กิตติ สัจจาวัฒนา
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุป ระสงศ์เพื่อทดสอบช่วงเวลาการกรีดยางและระบบกรีดยางพาราต่อ การให้ผลผสิตน้ำยางพารา ทำการทดลองในสวนยางพาราเปิดกรีดใหม่ ณ มหาวิทยาสัยพะเยา จังหวัดพะเยา ประทศทย ในระหว่างเตือน มีนาคม-ตุลาคม 2556 วางแผนการทดลองแบบ 2x4 Factorial in RCB โดยให้ช่วงเวลาการกรีดเป็นปัจจัยที่ 1 (TP1:06.00-08.00 น. และ TP2:16.00- 18.00 น.) ระบบกรีดเป็นปัจจัยที่ 2 (T1. ระบบกรีดครึ่งสำตันวันเว้นวัน (1/2s d/2), T2: ระบบกรีด ครึ่งสำต้นวันเว้นสองวัน (1/2 d/3), 13 ระบบกรีดหนึ่งในสามสำต้นวันเว้นวัน (13s d/2) และ T4. ระบบกรีดแบบสองหน้ากรีดหนึ่งในสามลำต้นวันเว้นสองวัน (DCA. 2x13s d/3) ผลการทดลองพบว่า การกรีดยางในช่วงเวลา TP1 ให้ผลผสิตยางก้อนสูงกว่าการกรีดช่วงเวลา TP2 อย่างมีนัยสำคัญ (153.99 กก.ไร่ ปี และ 134.52 กก./ไร่เปี)ส่วนระบบกรกรีดพบว่าการกรีดแบบ T4 ให้ผลผสิต ยางก้อนสูงสุดที่ 231.48 กก.ไร่ ปี สูงกว่าระบบกรีดอื่นอย่างมีนัยสำคัญ การวิเตราะห์ค่าทางเคมี ของน้ำยางพบว่า การกรีดยางช่วงเวลา TP1 ให้ค่ไธออลสูงกว่าช่วง TP2 อย่างมีนัยสำคัญ (1.92 และ 1.40 MML ตามลำดับ) ระบบกรีดพบว่า T1 ให้ค่าซูโคลส ฟอสฟอรัสและไธออลสูงสุด (33.46, 35.02 และ 2.29 MM1 ตามสำดับ) โดยสรุปการวิจัยครั้งนี้พบว่า การกรีดยางพาราในช่วง TP1 (06.00-0.800 น.) และการกรีดแบบ 14 (ระบบกรีดสองหน้ากรีดหนึ่งในสามสำต้นวันเว้นสอง วัน) ให้มีศักยภาพให้น้ำยางพาราที่ตี
บทคัดย่อ (EN): This research aimed to evaluate effect of tapping time period and tapping system on latex yield of rubber trees (Hevea brasiliensis), two levels of tapping time period (TP1; 06.00- 08.00 am and TP2; 16.00-18.00 pm) and four levels of tapping system (T1; 1/2s d/2, T2; 1/2 d/3, T3; 1/3s d/2 and T4; DCA 2x1/3s d/3) were tested at rubber field of University of Phayao, Phayao, Thailand, in eight months (March – October, 2013), using 2x4 factorial in RCB with three replications. The results were shown that the TP1 gave a tendency of higher yield (153.99 kg./rai/year) than TP2 (134.52 kg./rai/year). Tapping system showed that T4 gave highest yield (231.48 kg./rai/year). September and October gave higher yield than other months (36.71 and 35.42 kg./rai/year). Chemical components of latex yield (sucrose, inorganic phosphorus and reduced thiols) showed that TP1 gave higher reduced thiols (1.92 mM/L) than TP2 (1.40 mM/L ). Tapping system showed that T1 gave highest all of chemical components of latex yield. (33.46, 35.02 and 2.29 mM/L). Thus, TP1(06.00-08.00 am.) and T4 (DCA 2x1/3s d/3) showed that have high efficiency to give high latex yield.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาระบบกรีดที่เหมาะสมในยางพาราเปิดกรีดใหม่บนพื้นที่เพาะปลูกของจังหวัดพะเยา ประเทศไทย
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2556
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคของยางพารา (Hevea brasiliensis Muell.Arg.) ในพื้นที่เพาะปลูกจังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มวิจัยยางพารา การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การวิจัยและพัฒนาระบบกรีดและสรีระที่เหมาะสมกับการเพิ่มผลผลิตสวนยาง การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การวิเคราะห์ที่ตั้งอุตสาหกรรมยางพาราในประเทศไทย ศึกษาระบบกรีดที่เหมาะสมกับยางพันธุ์ GT 1 อิทธิพลของระบบกรีดที่มีผลต่อพันธุ์ยางสถาบันวิจัยยาง 251 โครงการ พัฒนาเยาวชนบนพื้นที่สูง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก