สืบค้นงานวิจัย
การประเมินคุณค่าทางโภชนะของหญ้าแพงโกล่าแห้ง
เฉลา พิทักษ์สินสุข, วารุณี พานิชผล, วรรณา อ่างทอง - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: การประเมินคุณค่าทางโภชนะของหญ้าแพงโกล่าแห้ง
ชื่อเรื่อง (EN): Nutritive Value Evaluation of Pangola Hay
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN):
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินคุณค่าทางโภชนะของหญ้าแพงโกล่าแห้ง อายุการตัด 45 วัน ดำเนินการที่กลุ่มวิเคราะห์อาหารสัตว์และพืชอาหารสัตว์และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ระหว่างเดือน สิงหาคม 2548 - ธันวาคม 2548 โดยใช้โคพันธุ์บราห์มัน เพศผู้ตอน จำนวน 4 ตัว น้ำหนักเฉลี่ย 350 กิโลกรัม ทำการทดลองหาค่าโภชนะที่ย่อยได้โดยวิธี Total พลังงานใช้ประโยชน์ได้ โดยโคถูกเลี้ยงในคอกแบบขังเดี่ยว มีหญ้าแพงโกล่าแห้งให้กินเพียงอย่างเดียว มีแร่ธาตุก้อนและน้ำให้กินตลอดเวลา ผลการทดลองพบว่า หญ้าแพงโกล่าแห้ง อายุการตัด 45 วัน มีค่าโปรตื่น 9.46 เปอร์เซ็นต์ค่าอินทรียวัตถุ ไขมัน เยื่อใยหยาบ เถ้า และ NFE เท่ากับ 92.54 1.51 32.85 7.46 และ 48.72เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และมีค่า NDF ADF และ ADL เท่ากับ 74.61 42.26 และ 4.99เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ สำหรับการย่อยได้ของโภชนะ คือ วัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ โปรตีน ไขมันเยื่อใยหยาบ และ NFE มีค่าเท่ากับ 60.27 62.64 57.19 33.55 75.62 และ 55.86 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ค่าการย่อยได้ของ NDF และ ADF เท่ากับ 71.35 และ 63.40 เปอร์เซ็นต์ ส่วนค่า TDN และ ME เท่ากับ 58.61 เปอร์เซ็นต์ และ 2.12 Mcallkg.
บทคัดย่อ (EN): Nutritive value evaluation of pangola hay, fourty-five days cutting interval, was conducted at Feed and Forage Analysis Section and Khon-Kaen Animal Nutrition Research and Development Center, Khon-Kaen Province, between August-December 2005. Nutrient digestibility was determined in four Brahman steers, 350 average body weight, by Total Collection Method, and methane gas from respiration was measured by Respiration Head Hood for Metabolized Energy (ME) evaluation. The steers were housed individually in metabolic crates with water available at all times. Pangola hay supplemented with mineral block was given to the animals as a sole diet. The result showed that pangola hay, 45 days cutting interval, was the quality hay with 9.46 percent CP. OM, EE, CF, Ash and NFE of pangola hay were 92.54, 1.51, 32.85, 7.46 and 48.72 percent respectively. NDF, ADF and ADL were 74.61, 42.26 and 4.99 percent respectively. For digestibility of dry matter, OM, CP, EE, CF and NFE, they were 60.27, 62.64, 57.19, 33.55, 75.62 and 55.86 percent respectively, and digestibility of NDF and ADF were 71.35 and 63.40 percent. TDN and ME of pangola hay were 58.61 percent and 2.12 Mcal/kg.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: สำนักพัฒนาอาหารสัตว์
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550
เอกสารแนบ: http://nutrition.dld.go.th/Research%20Report53-55/Research_Knowlage/RESEARCH/research_full/2550/222-233.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองอาหารสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประเมินคุณค่าทางโภชนะของหญ้าแพงโกล่าแห้ง
กองอาหารสัตว์
2550
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมปศุสัตว์
คุณค่าทางโภชนะของหญ้าแพงโกล่าแห้งที่การเจริญเติบโตต่างกัน การทำหญ้าแพงโกล่าแห้ง คุณค่าทางโภชนะของหญ้าอะตราตัม การจัดชั้นคุณภาพหญ้าแพงโกล่าแห้งโดยการวิเคราะห์การรวมกลุ่ม การประเมินคุณค่าทางโภชนะของหญ้าแห้งที่ระยะเวลาการเก็บรักษาต่างกัน 2 ระยะเวลาการเก็บรักษาที่มีผลต่อคุณภาพของหญ้าซีตาเรียแห้ง การตอบสนองของผลผลิตหญ้าแพงโกล่าแห้งต่อการใส่ปุ๋ยในพื้นที่เกษตรกร ผลของคุณภาพหญ้าแพงโกล่าแห้งต่อสมรรถนะการผลิตและลักษณะซากของโคพื้นเมืองเต็มวัย การปรับปรุงพันธุ์หญ้าแพงโกล่าโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การประเมินคุณค่าทางโภชนะของใบถั่วท่าพระสไตโลแห้ง ผลของคุณภาพหญ้าแพงโกล่าแห้งต่อสมรรถนะการผลิตและลักษณะซากของโคลูกผสมบราห์มันอายุมาก

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก