สืบค้นงานวิจัย
ความต้านทานโรคที่สำคัญทางเศรษฐกิจของยางพารา 1,600 สายพันธุ์
อารมณ์ โรจน์สุจิตร - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: ความต้านทานโรคที่สำคัญทางเศรษฐกิจของยางพารา 1,600 สายพันธุ์
ชื่อเรื่อง (EN): Evaluation on Economic Important Diseases Resitance of 1,600 Rubber Cultivars
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อารมณ์ โรจน์สุจิตร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ได้มีการสร้างแปลงรวบรวมพันธุ์ยางที่ได้จากบราซิลไว้ที่สถานีทดลองยางระนอง โดยมีเป้าหมายจะรวบรวมพันธุ์ทั้งหมด 1,600 สายพันธุ์ สำหรับเป็นแหล่งรวบรวมเชื้อพันธุ์ยาง จึงได้ดำเนินการตรวจสอบการเกิดโรคตามธรรมชาติของพันธุ์ยางแต่ละสายพันธุ์ในแปลงเหล่านี้ตามฤดูการระบาดของโรคในปี 2534 - 2541 เพื่อหาระดับความต้านทานโรคสำหรับเป็นข้อมูลสนับสนุนการปรับปรุงพันธุ์ยาง ผลจาการตรวจสอบโรคของยางพันธุ์บราซิล 818 สายพันธุ์ (รวมพันธุ์ในปีปลูกสร้างแปลงเมื่อ 2533 2536 และ 2538) พบว่าพันธุ์ยางที่ต้านทานต่อโรคมากทั้งโรคใบจุดต่างๆและโรคใบร่วงไฟทอปโทรา คือ ยางสายพันธุ์ที่มีชื่อต้นเป็น MT ยกเว้นสายพันธุ์ MT/I/10 19 และสายพันธุ์ MT/C/4 7/49 ที่พบว่าอ่อนแอต่อโรคใบจุดก้างปลามาก ส่วนยางพันธุ์ที่มีชื่อต้น RO และ AC ต่างๆ ส่วนใหญ่จะอ่อนแอต่อโรคมากโดยเฉพาะโรคใบร่วงไฟทอรา ยางสายพันธุ์ RO ที่อ่อนแอต่อโรคใบจุดก้างปลามากคือสายพันธุ์ RO/A/7 25/109
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความต้านทานโรคที่สำคัญทางเศรษฐกิจของยางพารา 1,600 สายพันธุ์
การยางแห่งประเทศไทย
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน แนวทางการแก้ปัญหายางพาราเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus) ผลของเอทธิลีนต่อการให้ผลผลิตของยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และ BPM 24 การพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายที่เกี่ยวข้องกับความต้านทานโรคใบจุดก้างปลาของยางพารา การศึกษายีนต้านทานโรคในยางพาราเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ยาง การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของยางพาราพันธุ์ RRIM 600 การควบคุมโรครากขาวของยางพาราโดยชีววิธีและการคัดเลือกสายพันธุ์ยางต้านทานโรคเพื่อผลิตต้นตอพันธุ์ ความต้านทานโรคใบของยางพาราพันธุ์ RRIT ชุด 300

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก