สืบค้นงานวิจัย
ความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกล้วยไม้ลูกผสมสกุล Doritaenopsis ที่ถูกชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ
อารักษ์ ธีรอำพน - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: ความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกล้วยไม้ลูกผสมสกุล Doritaenopsis ที่ถูกชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ
ชื่อเรื่อง (EN): Genetic variation in Doritaenopsis hybrids induced mutations in vitro
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อารักษ์ ธีรอำพน
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสายพันธุ์กล้วยไม้ลูกผสมสกุล Doriacnopsis ให้มีลักษณะที่ดี แตกต่างไปจากเดิม ด้วยการใช้สาร โคลชิซินและรังสึแกมมาในสภาพปลอดเชื่อ แบ่งเป็น 2 การทคลอง การทคลองที่ เ เพื่อศึกมาระดับความข้มข้นและระซะเวลาที่หมาะสมในการใช้สารไคลชิซิน ชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ วงแผนการทคลองแบบ Factorial in CRD มี 7 ซ้ำ ไดขการนำไปร โดคอร์มที่ มีขนาด 2-3 มิลลิเมตร ไปเลี้ยงในอาหารเหลวสูตร Vacinc and Went (VW) ที่มีสารละลายไคลชิซิน ความเข้มข้น 0, 0.05 0.075 และ 0. เปอร์เซ็นต์ (wv) เป็นระยะเวลา 1,3, 5 และ 7 วัน จากนั้นนำ โปรไตคอร์มไปลี้ยงบนอาหารแข็งสูตรตัดแปลง VW สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไ ปรไตคอร์ม พบว่า มื่อเพิ่มความเข้มข้นและระยะเวลารับสารใคลชิซินทำให้เปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตของไปร ใตคอร์มลดลง และเมื่อ ไปรใดคอร์มเจริญเดิบ ไดเป็นดันอ่อนจนมีอายุ 10 เดือน บันทึกการเจริญเดิบโตและปริมาณ ดีเอ็นเอ พบว่า ดันที่ได้รับสารละลายใคลชิชินความเข้มข้นสูงขึ้นและระชะเวลานานขึ้น ให้น้ำหนักสด จำนวนใบ ความขาวใบ จำนวนราก ความขาวราก และความหนาแน่นปากใบลคลง ในขณะที่ เส้นผ่าศูนช์กลางราค ความกว้างใบ ความหนาของใบ และความขาวปากใบมีแนวไน้มสูงขึ้น นอกจากนี้ ดันที่ได้รับสารไคลชิซิน มีเปอร์เซ็นต์การเกิดนเตตระพลอยด์สูง ขเฉพาะเมื่อไช้สารละลาย ใคลชิซินความเข้มข้น 0. ปอร์เซ็นต์ (ฟซ) นาน 7 วัน มีเปอร์เซ็นต์การเกิดต้นเตตระพลอยค์สูงที่สุด คือ 60 เปอร์เซ็นด์ ดันเตตระพลอยด์ที่ด้มีใบสั้นและกว้าง แผ่นใบหนา รากสั้น และมีการเจริญเติบใตช้กว่า ดันดิพลอยค์ การทตลองที่ 2 เพื่อศึกษาปริมาณรังสีแกมมาที่เหมาะสมในการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ วางแผนการทตลองแบบ CRD มี 7 ซ้ำ ไขกรนำไปร ไตคอร์มที่มีขนาด 2-3 มิลลิเมตร ไปฉ ายรังสี แกมมาที่ระดับ 0, 50, 100, 150 และ 200 เกรข์ จากนั้นนำไปร ไตคอร์มไปเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร คัดแปลง Vw สังกดการเปลี่ยนแปลงของไปร ไคคอร์ม เมื่อไปร ไตคอร์มเจริญเดิบไดเป็นต้นอ่อนจนมี อาขุ 10 เดือน บันทึกการเจริญติบ ไดและปริมาณดีเอ็นเอ พบว่า ดันที่ได้ฤายรังสีแกมมามีน้ำหนักสด ความขาวใบ ความกว้างใบ ความหนาใบ จำนวนราก ความขาวราก และเส้นผ่าสุนซ์กลางรากลดลง แต่มี จำนวนใบมาก ในขณะที่ควา หนาแน่นและความยาวของปากใบ และปริมาณดีเอ็นเอไม่แตกต่างกัน และ มีลักษณะทางสัณฐานวิทขาที่เปลี่ชนแปลงไป เช่น ใบหลอด ใบแฉก ใบด่าง ใบยาวเรียวเล็ก ใบหดสั้น และหนขึ้น ใบเปลี่นสีไปจากคิมจากสีขียวปนน้ำตาลแดงเป็นสีขียวทั้งใบ และมีเปอร์เซ็นต์การกลาย พันธุ์สูงขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีแกมมามากขึ้น ไดยที่ระดับ 200 เกรย์ มีเปอร์เซ็นต์การกลายพันธ์สูง ที่สุด คือ 24.29 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อนำดันกลัวยไม้ที่กลายพันธุ์ที่ได้จากการฉาขรังสีแกมมาออกปลูกใน สภาพโรงเรือน พบว่ามีเปอร์เซ็นต์กรรอดของดันกล้วยไม้น้อยลงเมื่อได้รับปริมาณรังสีแกมมาที่สูงขึ้น ไดขดันกล้วยไม้ที่กลายพันธุ์ที่ได้จากการฉาชรังสีแกมมาปริมาณ 50 เกรย์ มีเปอร์เซ็นค์การรอดของดัน กล้วยไม้ที่กลายพันธุ์หลังจากนำไปปลูกในสภาพโรงเรือนสูงที่สุด คือ 97.14 เปอร์เซ็นด์
บทคัดย่อ (EN): This study aims to develop Doritaenopsis hybrid by colchicine and gamma irradiation. Two experiments were sct up in vitro. The first experiment was to cxamine the most cficctive concentration and the duration of a colchicine treated. The experimental design was Factorial in CRD with 7 replications. The PLBs were cultured on Vacine and Went medium (VW) containing different concentrations of colchicinc 0, 0.05, 0.075 and 0.1 % (w/v). After an incubation period of 1, 3, 5 and 7 days they were transferred into modified VW medium. The results sbowed that the increasing in the concentration and the duration of colchicinc could make percent survival of PLBs decreased. After 10 months, morphology, physiology and DNA content were investigated. The results showed that the higher the concentrations and the longer durations could decrease the fresh weight, number of lcaves, Icaf length, number of root, root length and stomatal density of the young plant. In contrast, the root diameter, Ieaf width, leaf thickness and stomatal length increased. In addition, plant exposured to colchicine gave the high percentage of tetraploid plant. Especially, the plant exposure to colchicine at 0.1 % (w/v) for 7 days showed the highest percentage of tctraploid (60 %). However, the tetraploid plants were rosette and the rate of growth was slower than that of the diploid plants. The second cxperiment was to find the suitable dosc of gamma irradiation for mutation. The cxperimental design was in CRD with 7 replications. PLBs were irradiated with gamma radiation at the doses of 0, 50, 100, 150 and 200 Gy before transferring to culture on modified VW for 10 months. The results sbowed that the fresh weight, leaf length, leaf width, leaf thickness, number of root, root length, and root diameter were decrease with an increasing exposure dosagc. However, the number of leaves increased. Whilc, stomatal density, stomatal length and DNA contents were showed not any difierences. Moreover, morphological changes such as abnormal lcaf, forked leaves, chlorophyll variation, narrow leaves, shortened and thickened Icaves, multiple branching and changes in Ieaf color from green brown to green were obscrved. In addition, the percentage of mutation was highest at radiation doses of 200 Gy (24.29 %). Furthermore, the higher radiation exposured gave affected the higher mortality of the plants after removing from tissuc culture. Plant exposured to gamma radiation at 50 Gy showed the highest survival rate of mutation (54.54 %).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกล้วยไม้ลูกผสมสกุล Doritaenopsis ที่ถูกชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2556
โครงการการเพาะเมล็ดกล้วยไม้รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ การชักนำให้เกิดแคลลัสในกล้วย การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ที่พบในมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยาด้วยลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยใช้เทคนิค AFLP (Amplified Fragment Length Polymorphism) โครงการเพาะเมล็ดกล้วยไม้รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ การผลิตหัวมันฝรั่งในสภาพปลอดเชื้อ การขยายพันธุ์กล้วยไม้รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ การขยายพันธุ์กล้วยไม้ช้างผสมโขลงในสภาพปลอดเชื้อ การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้ด้วยวิธีกลายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองโดยการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพรในสภาพปลอดเชื้อ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก