บทคัดย่อ: |
การศึกษาปัจจัยและทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมแมลงศัตรูพืชของเชื้อราบิวเวอเรีย สายพันธุ์
กรมส่งเสริมการเกษตร(กสก-ล1)ในห้องปฏิบัติการของ ส่วนบริหารศัตรูพืช ส านักพัฒนาคุณภาพสินค้า
เกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร พบว่าเส้นใย (mycelium)ใส ไม่มีสี มีผนังกั้น มีความเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-5 µ
เฉลี่ย 2.62 µ มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน0.7625 โคนีเดีย (conidia) ใส ไม่มีสี เป็นเซลเดียว รูปร่างกลมมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 µ มีค่าเฉลี่ย 1.75 µค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.4352 ก้านชูโคนีเดีย (conidiophore) มี
ลักษณะเป็นเส้นตรงรูปทรงกระบอก บริเวณโคนก้านชูโคนีเดีย มีลักษณะคล้ายแจกัน?? (flask like-shaped)
มีความกว้างบริเวณโคน 1.7 µ บริเวณปลาย 0.5 µ ซึ่งโคนีเดียจะถูกผลิตขึ้นที่ปลายของก้านชูโคนีเดีย
ลักษณะของโคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA มีรูปร่างกลม เส้นใยสีขาว ความฟูไม่มาก เส้นใยหลวม บน
อาหารเลี้ยงเชื้อ SDA โคโลนีมีรูปร่างกลม เส้นใยเป็นปุยสีขาว ฟู เส้นใยอัดตัวกันแน่น มีระยะเวลาการเจริญ
ของโคโลนีเต็มจานเลี้ยงเชื้อบนอาหาร??PDA และSDA ใช้เวลา 11 วัน และ 8วัน ตามล าดับ แต่เมื่อเลี้ยงเชื้อ
ติดต่อกัน 3 รุ่น พบว่าในรุ่นที่ 3 ลักษณะการเจริญของเชื้อราบนอาหารPDA ดีกว่า SDA คือ เชื้อราจะฟูขาว
และกระจายเต็มจาน??เลี้ยงเชื้อ ในขณะที่การเจริญบนอาหาร SDA มีลักษณะเส้นใยฟูขาวเฉพาะตรงกลางจาน
เลี้ยงเชื้อ ส่วนบริเวณใกล้ขอบจานเลี้ยงเชื้อมีลักษณะขาวแต่ไม่ฟู ลักษณะการเกิดโรคที่เกิดจากเชื้อราบิวเวอ
เรีย สายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร(กสก-ล1) พบหนอนกระทู้หอมกินอาหารน้อยลง หลังได้รับเชื้อรา 1-2
วัน จากนั้นจะหยุดการเคลื่อนไหว 2-3 วันหลังรับเชื้อโดยบริเวณล าตัวพบจุดสีน้ าตาลเข้มจนถึงด า และตาย
ในที่สุดหลังรับเชื้อ 3-4 วัน หลังจากหนอนตาย 1-3 วัน เริ่มพบเส้นใยสีขาวขึ้นบริเวณล าตัว จากนั้น 5-7 วัน
เชื้อราจะขึ้นปกคลุมล าตัว และจากการตรวจสอบการเกิดโรคด้วยกล้องจุลทรรศน์พบว่าหนอนกระทู้หอม
หลังได้รับเชื้อราบิวเวอเรีย 7 วัน เริ่มมีเส้นใยแทงผ่านออกมาจากภายในล าตัว หลังจากนั้น 3 วันเส้นใยมีการ
เจริญปกคลุมบริเวณผิวนอกล าตัว ผลการศึกษาลักษณะการท าลายของเชื้อราบิวเวอเรียในระดับเซลและ
เนื้อเยื่อของหนอนกระทู้หอมโดยใช้กล้องอิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน พบเชื้อราเข้าไปเจริญและเพิ่มปริมาณใน
ชั้นของเนื้อเยื่อ และช่องว่างในล าตัวโดยพบ hyphalbodyและ conidia หลังได้รับเชื้อ 7 วัน กลิ่นของเชื้อราบิว
เวอเรีย บาสเซียน่าสายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร(กสก-ล1) พบว่ามีกลิ่นเปรี้ยวคล้ายส่าเหล้า ผลการหา
ปริมาณ conidiaในถุงข้าวโพดที่ใช้ผลิตเชื้อราบิวเวอเรียที่เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (33o C) ที่ระยะเวลาการเก็บ 0
,2, 4, 6, 8, 10, 12, 14 และ16 สัปดาห์ พบปริมาณ conidia12.0, 11.3, 8.4, 6.9, 6.4, 1.6, 0.6, 0.4 และ0.3 x 10
8
conidia/ml.ตามล าดับ มีน้ าหนักเส้นใย 24.9, 25.9, 20.3, 10.1, 8.5, 6.9, 5.9, 5.6 และ4.7 กรัม /ถุง ตามล าดับ
และจากการเก็บเชื้อราบิวเวอเรียที่อุณหภูมิตู้เย็น (10o C) มีปริมาณ conidia13.5, 14.8, 12.0, 11.0, 11.9, 10.9,
9.3, 9.0 และ7.3 x 10 8
conidia/ml ตามล าดับ มีน้ าหนักเส้นใย 21.8, 17.7, 9.8, 6.7, 3.7, 1.7, 0.4, 0.1 และ0.1
กรัม/ถุง ตามล าดับ ผลการศึกษาอุณหภูมิและความชื้นที่มีผลต่อประสิทธิภาพของเชื้อราที่ความเข้มข้น 1x107
conidia /ml ในการท าให้เกิดโรคกับหนอนกระทู้หอม (Spodoptera exigua )วัย 3 อายุ 5 วัน พบว่าลักษณะ
อาการของหนอนกระทู้หอมหลังการให้เชื้อรา 1-2 วัน คือเบื่ออาหารกินน้อย ไม่เคลื่อนไหวหลังจากได้รับ
เชื้อรา 2-3 วัน ล าตัวเกิดจุดสีด าและตายหลังจากได้รับเชื้อรา 3-4 วัน และมีเส้นใยสีขาวขึ้นปกคลุมล าตัว 5-7
วัน ส าหรับผลต่อการตายของหนอนกระทู้หอมหลังจากได้รับเชื้อรา พบว่าในทุกสภาพการทดสอบมีค่าเฉลี่ย
ของเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุดในวันที่ 4 หลังได้รับเชื้อรา โดยการตายของหนอนโดยเชื้อราบิวเวอเรียที่เก็บ
ไว้ในตู้เย็นที่มีอุณหภูมิเฉลี่ย100
C ในสภาพที่ให้ความชื้น มีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนสูงสุดเท่ากับ
100 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือที่เก็บไว้ที่อุณหภูมิตู้ในเย็น (100
C)ไม่ให้ความชื้น อุณหภูมิตู้ในอบที่มีอุณหภูมิเฉลี่ย
350
Cให้ความชื้นและไม่ให้ความชื้น อุณหภูมิห้องที่มีอุณหภูมิเฉลี่ย 320
Cให้ความชื้นและไม่ให้ความชื้น มี
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนเฉลี่ยเท่ากับ 96.7, 96.7, 81.7, 31.7 และ 6.7เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ และผลจากการ
วิเคราะห์ค่าทางสถิติของสภาพแวดล้อม (อุณหภูมิ ความชื้น) ที่มีผลต่อประสิทธิภาพของเชื้อราบิวเวอเรีย บาส
เซียน่าสายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร(กสก-ล1) ต่อการควบคุมหนอนกระทู้หอมวัย3ในสภาพที่ไม่ให้
ความชื้น พบว่าแต่ละอุณหภูมิของการทดสอบมีความแตกต่างกันทางสถิติต่อเปอร์เซ็นต์การตายของหนอน
ส าหรับในสภาพที่ให้ความชื้น พบว่าที่อุณหภูมิตู้เย็นและตู้อบไม่มีผลแตกต่างกันทางสถิติต่อเปอร์เซ็นต์ตาย
ของหนอนแต่มีผลแตกต่างกันทางสถิติกับในอุณหภูมิห้อง ผลการวิเคราะห์ค่าทางสถิติของความชื้นที่มีผลต่อ
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนกระทู้หอม พบว่าที่อุณหภูมิ100
C (อุณหภูมิในตู้เย็น) การให้ความชื้นและไม่ให้
ความชื้นไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่อุณหภูมิ320
C (อุณหภูมิในห้อง )การให้ความชื้นและไม่ให้ความชื้น
มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง ที่อุณหภูมิ350
C (อุณหภูมิในตู้อบ ) การให้ความชื้นและไม่ให้ความชื้นมี
ความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญ ค่าLC50 ของเชื้อราบิวเวอเรีย บาสเซียน่า สายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร
(กสก-ล1) ต่อหนอนกระทู้หอมมีค่า 4.4x108
conidia/ mlผลการทดสอบประสิทธิภาพการควบคุม เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้งสีชมพู หนอนใยผัก หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกออ้อย
และไรแดงโดยให้เชื้อราบิวเวอเรียที่ความเข้มข้น1x 10 7
conidia/ml พบว่าเปอร์เซ็นต์การตายที่เกิดขึ้น
ตามล าดับบน เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้งสีชมพู หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก หนอนใยผัก หนอน
เจาะสมอฝ้าย หนอนกออ้อยและไรแดง เป็น 83.2,67.5,65.0,50.0,32.5,92.5,77.5,35.0 และ 95.0 เปอร์เซ็นต์
ระยะเวลาการตายเป็น 2.5,3,4,4,3,3.5,3.5,7และ 3 วัน ระยะการเกิดเส้นใยหลังการให้เชื้อรา เป็น
3,2,4,2,2,2,3,10 และ 2 วันและจ านวน conidia ที่เกิดขึ้นบนล าตัวเป็น0.3,0.3,0.6,3.2,5.5,1.5,9.3,10.2และ0.1
x105
conidia/ ml ตามล าดับ ผลการศึกษาอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมต่อการสร้าง conidia ของเชื้อราบิวเวอเรีย
บาสเซียน่า สายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร(กสก-ล1) พบการสร้าง conidia บน ข้าวโพด ข้าวจ้าวหุงสุก ข้าว
ฟ่าง ข้าวเปลือก และร าข้าว เป็น12.3 , 11.6,10.1, 8.9 และ8.3 x108
conidia/gm.ตามล าดับ และผลการ
เปรียบเทียบเอกลักษณ์ทางพันธุกรรมระหว่างเชื้อราบิวเวอเรีย บาสเซียน่า สายพันธุ์ กรมส่งเสริมการเกษตร
(กสก-ล1)กับเชื้อราบิวเวอเรีย บาสเซียน่า สายพันธุ์ที่แยกจากเพลี้ยไฟและด้วงหมัดผัก พบว่า พบว่าเชื้อราบิว
เวอเรีย บาสเซียน่า สายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร(กสก-ล1) มีเอกลักษณ์ทางพันธุกรรมส่วนใหญ่ที่
แตกต่างกันแต่ มีค่าความเหมือนกับเชื้อราบิวเวอเรียที่แยกจากเพลี้ยไฟและ ด้วงหมัดผักเป็น 5.07% และ
4.23% |
บทคัดย่อ (EN): |
Trial on an efficacy of Beauveria bassiana DOAE-L1 for Insect Pest Control was carried on at
Pest Management Division, Bureau of Agricultural Product Quality Development, Department of
Agricultural Extension. Morphology study were found that hypha slender, 2-5 µ in diameter, septate,
hyaline:Conidia globose, 1-2 µ in diameter, hyaline. Conidiophore cylinder, flask- like shaped, with basal
end 1.7µ wide and 0.5 µ at typical where conidia were produced. Colony on PDA was rather round and
flat, white, myceliumnot patch, .growth period on full surface of Petri dish was 11 day. For SDA, colony rather
round, cotton patch mycelium and and growth period on full surface of Petri dish was 8 day.For continuously
inoculated of Beauveria bassiana on SDA, it was found that mass propagation of Beauveria bassiana
should not more than the 3 generation because fungus growth on PDA in third generation has mycelium
patch liked cotton and full scattering on all surface of Petri dish , whilegrowth onSDA has mycelium patch
liked cotton only at the middle surface of Petri dish For observation of dead larval under compound
microscope, mycelium penetrated from inside the body of the dead larval after fungus application 7 days
and mycelium multiplied and covered larval surface after that 3 days. From histopathology and
cytopathology studies of the Spodoptera exigua third instar larval aged 5 days by transmission electron
microscope, the conidia were found at the cuticle of larval after 2 days of fungus application. After 3 days
of fungus application, conidia developed into germ tube and penetrated through larval tissues, grew and
multiplied the number of hyphal body within larval tissues.The smell of Beauveria bassiana DOAE-L1,
like yeast added in alcoholic production. Number of conidia and weight of mycelium from corn seed in
plastic bags incubated at average room temperature (33o C ) at the stored period of 0 ,2, 4, 6, 8, 10, 12, 14
and 16 week were 12.0, 11.3, 8.4, 6.9, 6.4, 1.6, 0.6, 0.4 and 0.3 x 10 8
conidia/ml. and 24.9, 25.9, 20.3,
10.1, 8.5, 6.9, 5.9, 5.6 and 4.7 gram/bag respectively and at average temperature of 10o C was 13.5, 14.8,
12.0, 11.0, 11.9, 10.9, 9.3, 9.0 and 7.3 x 10 8
conidia/ml and 24.9, 25.9, 20.3, 10.1, 8.5, 6.9, 5.9, 5.6 and
4.7 gram/bag respectively.Studying the effect of temperature and relative humidity to the efficiency of
Beauveria bassiana DOAE-L1 at concentration of 1x107
conidia /ml to control Spodoptera exigua third
instar larval aged 5 days were found that , after fungus application 1-2 days, the larval had no appetite and
less feeding, paralyze 2-3 days, appearance of black spot on the larval surface occurred 3-4 days. Dead of
larval occurred within 3-4 days and was covered with white mycelium after that 5-7 days. Percent larval
mortality of all trail condition was highest at 4 days after fungus application, average percentage of larval
mortality from larval incubated in refrigerator at the average temperature of 100
C, in hot air oven at the
average temperature of 350
C and in room condition at the average temperature 320
C with and without
moisture addition were 100,96.7, 96.7, 81.7, 31.7 and6.7 % respectively. From statistical analysis of
temperature and relative humidity that affected to an efficiency of Beauveria bassiana DOAE-L1to Spodoptera
exigua third instars larval aged 5 days, incubated incondition without moisture addition from each
incubatedtemperature had statistical different among percent larval mortality but for larval incubated in
condition with moisture addition had no statistical differentbetween larval incubatedin refrigerator and hot
air oven but it had statistical different of larval incubated inroom temperature. Statistical analysis of relative
humidity affected to percent Spodoptera exigua larval mortality was found that larval incubated in refrigerator at
100
C with or with out moisture addition had no statistical different , at room temperature of room (320
C) had
highly statistical differentof percent larval mortality and at temperature 350
C in hot air oven , had no statistical
different to percent mortality of Spodoptera exigua larval . LC50 of Beauveria bassiana DOAE-L1 to
Spodoptera exigua larvar was 4.4 x 108
conidia/ml.For trial on control efficiency of Beauveria bassiana
DOAE-L1 to insects and mite :Aphid ( Aphis sp.) ,Thrips(Scirtothrips dosalis),Mealy bug(Phenacoccus
manihoti),Beet armyworm(Spodoptera exigua),Cotton leafworm (Spodoptera litura ),Diamond back
moth(Plutella xylostella),Cotton bore worm(Helicoverp armigera ),Sugarcane borer(Chilo tumidicostalis)
and red spider mite(Tetranychus truncates ) were found that percent mortality, date of mortality occurred,
mycelium appearance period after fungus application and number of conidia on surface of insects and mite
were 83.2, 67.5,65.0,50.0,32.5,92.5,57.5,35.0 and 94.9 percent respectively, mortality and mycelium
appearance period after fungus application were 2.5,3,4,4,3,3.5,3.5,7 and 3 days and 3,2,4,2,2,2,3,10 and 2
days respectively. And number of conidia occurred on insects and mite surface were
0.3,0.3,0.6,3.2,5.5,1.5,9.3,10.2 and 0.1 x105
conidia/ml respectively. Kind of seeds which suitable for mass
propagation of Beauveria bassiana DOAE-L1 was corn seed compared with sorghum seed, rice seed, boiled
riceand rice band with the conidia production of 12.3, 10.1, 8.9 ,11.6 และ8.3 x108
conidia/gm. respectively. And
for comparison of genetic symbol among Beauveria bassiana DOAE-L1 with another which separated
from Thrips and Flea was found that Beauveria bassiana DOAE-L1 has genetic symbol mostly different
with the other and has little similarity with Beauveria bassiana separated from Thrips 5.07% and from
Flea 4.23%. |