สืบค้นงานวิจัย
การสร้างผู้ประกอบการ Start Up เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ Premium OTOP ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
สมลักษณ์ วรรณฤมล กีเยลาโรว่า - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การสร้างผู้ประกอบการ Start Up เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ Premium OTOP ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมลักษณ์ วรรณฤมล กีเยลาโรว่า
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561-11-28
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561-06-27
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: 1. เพื่อสร้างและพัฒนากลุ่ม Start Up ยุคใหม่ขึ้นมา เพื่อน านวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มาต่อยอดในการออกแบบและผลิต สินค้าเครื่องประดับระดับ Premium OTOP 2. เพื่อบูรณาการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นผ่านผลิตภัณฑ์เครื่องประดับที่เป็นลักษณะ Premium OTOP โดยเน้นการ ออกแบบรูปลักษณ์ที่สร้างสรรค์ และมีความร่วมสมัย 3. เพื่อน าเสนอแนวทางในการพัฒนา Digital Marketing, E-Commerce และ Shop Online ของ สินค้าประเภท Premium OTOP 4. เพื่อพัฒนาต่อยอดสินค้าเครอื่งประดับ Premium OTOP ไปสู่สินค้าเครื่องประดับเงินเพื่อการส่งออกในอนาคต
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การสร้างผู้ประกอบการ Start Up เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ Premium OTOP ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยนเรศวร
27 มิถุนายน 2561
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลำไย นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชาเมี่ยงอินทรีย์สำหรับผู้ประกอบการ ตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน การสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับจากผ้าทออำเภอลับแล การศึกษาศักยภาพการจัดทำบัญชีของกลุ่มผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับ 5 ดาว โครงการสร้างผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งสำเร็จรูปบำรุงสุขภาพจากข้าวไรซ์เบอรี่ แผนงานพัฒนาขีดความสามรถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมะนาว โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระตุ้นการเจริญของเส้นผมที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากเหงือกปลาหมอ การแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอในข้าวที่ตอบสนองต่อโรคขอบใบแห้ง โดยใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสยุคก้าวหน้า

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก