สืบค้นงานวิจัย
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช
สุขทัย พงศ์พัฒนศิริ - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช
ชื่อเรื่อง (EN): Plant Genetic Conservation Project under the Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn at Phayao University plant genetic conservation area, Phayao Province : Culture for Conservation
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุขทัย พงศ์พัฒนศิริ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของสารเคมีต่อเปอร์เซ็นต์กรงอกของเมล็ดครามและอัญชัน โดยนำเมล็ดคราม และเมล็ดอัญชัน มาแชในสารเคมีชนิดต่างๆ คือ น้ำกลั่น (ชุดควบคุม โพแทลเซียมไนเตรท 1, 2 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เอทธิฟอน 15, 30 และ 60 มิลลิกรัมต่อลิตร กรดแฮสคอร์บิก 100, 200 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร โซเดียมไฮโปคลอไรต์ 0.5. 1 และ 2 เปอร์เซ็นต์ กรดจิบเบอเรลลิก 0.05, 0.1 และ 0.2 เปอร์เซ็นต์ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.025, 0.05 และ 0.1 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หลังจากนั้น นำมาเพาะในวัสดุปลูก พบว่า เมล็ดครามที่แช่ในสารละลายกรดแอสคอร์บิก 400 มิลลิกรัมต่อสิตรมี เปอร์เซ็นต์การงอก ดัชนีความเร็วในการงอกสูงสุด และจำนวนวันที่ทำให้เมล็ดงอก 50 เปอร์เซ็นต์ โดย มีเปอร์เซ็นต์การงอกเท่ากับ 90 เปอร์เซ็นต์ , 1.27 และ 13 วัน ตามลำดับ ในขณะที่ชุดควบคุมมี เปอร์เซ็นต์การงอก ดัชนีความเร็วในการงอก และจำนวนวันที่ทำให้เมล็ดงอก 50 เปอร์เซ็นต์เท่ากับ 46.67 เปอร์เซ็นต์ 0.61 และ 29.33 วัน ตามลำดับ ส่วนมล็ดอัญชั นที่แช่ในสารละลายกรดแอสคอร์บิก ที่ระดับความเข้มชัน 400 มิลลิกรัมต่อสิตร เมล็ดอัญชันมีอัตราการงอกสูงสุดเช่นเดียวกัน โดยมี เปอร์เซ็นต์การงอก ดัชนีความเร็วในการงอก และจำนวนวันที่ทำให้เมล็ดงอก 50 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 86.67 เปอร์เซ็นต์,1.14 และ 10 วัน ตามลำดับ ในข ณะที่เปอร์เซ็นต์การงอก ดัชนีความเร็วในการงอก และค่าเฉลี่ยจำนวนวันที่ทำให้เมล็ดงอก 50 เปอร์เซ็นต์ของเมล็ดอัญชันที่แช่ในน้ำกลั่น (ชุดควบคุม) มี ค่าเท่ากับ 43.33 เปอร์เซ็นต์ 0.70 และ 31.66 วัน ตามลำดับ
บทคัดย่อ (EN): The research was conducted to study the effect of chemicals on increasing germination rate of Indigofera tinctoria L. and Clitoria ternatea L. seeds. Seeds were soaked in the solution of water as control, potassium nitrate (1, 2 and 4%), ethephon (15, 30, 60 mg/l), ascorbic acid (100, 200, 400 mg/l), sodium hypochlorite (0.5, 1, 2%), gibberellic acid (0.05, 0.1, 0.2%) and hydrogen peroxide (0.025, 0.05, 0.1%)for 24 hours then seeds were cultured in the media. Results showed that soaking in 400 mg/l ascorbic acid solution increased the germination rate of C. ternatea L.with the highest in germination percentage, speed of germination indexand days to 50 germination percentage as 90%, 1.27 and 13 day respectively.While the control treatment had 46.67 % germination percentage, 0.61 speed germination index and 29.33 days to 50 germination percentage. For I. tinctoria L.the400 mg/l ascorbic acid solution increased the germination rate of I. tinctoria L.with the highest in germination percentage, speed of germination indexand days to 50 germination percentage as 86.67 %, 1.14 and 10 day respectively. While the control treatment had 43.33 % germination percentage, 0.70 speed germination index and 31 days to 50 germination percentage
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2555
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : ความหลากหลายทางพันธุกรรม โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : กิจกรรมปกปัก สำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา : ความหลากหลายทางพันธุกรรมและการสร้างจิตสำนึก การอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้ภายในมหาวิทยาลัยพะเยา (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา) ความหลากหลายทางชีวภาพในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฐานข้อมูลจีโนไทป์ของเชื้อพันธุกรรมพืชตระกูลแตง การทดลองปลูกขยายพันธุ์พืชบางชนิด ที่สำรวจพบในพื้นที่ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา อ.เมือง จ.พะเยา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก