สืบค้นงานวิจัย
ผลของชนิดและระดับของกรดไขมันในอาหาร ต่อจุลินทรีย์ในรูเมนความสามารถในการย่อยได้ของโภชนะ การผลิตแก๊สมีเทน ประสิทธิภาพการให้ผลผลิต และคุณภาพเนื้อของแพะ
ปราโมทย์ แพงคำ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: ผลของชนิดและระดับของกรดไขมันในอาหาร ต่อจุลินทรีย์ในรูเมนความสามารถในการย่อยได้ของโภชนะ การผลิตแก๊สมีเทน ประสิทธิภาพการให้ผลผลิต และคุณภาพเนื้อของแพะ
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of types and levels of fatty acids in the diets on rumen microbes, nutrient digestibility, methane gas production, productive performance and meat quality of goat
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปราโมทย์ แพงคำ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ศิวพร แพงคำ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เพื่อศึกษาผลของชนิดและสัตส่วนของกรดไขมัน ในอาหารแพะต่อกระบวนการหมักจุลินทรีย์ในรูเมนในแพะเนื้อ การย่อยได้ของโภชนะ การผลิต ก็สมีทนในแพะเนื้อ ประสิทธิภาพการให้ผลผลิต และคุณภาพเนื้อ แบ่งออกเป็น 3 การทคลองย่อย การทดลองที่ : ศึกษาจลนศาสตร์ของการผลิตแก๊ส จากชนิดของไขมันที่นำมาศึกษาการผลิต แก๊ส จำนวน 16 ชนิค พบว่า ค่าจลนศาสตร์ที่ศึกษา ได้แก่ a, b, c, a+b, gas volume แถะ in vitro dry matter degradability (IVDMD) พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P > 0.05) การทตลองที่ ศึกพาผลของชนิดและสัดส่วนของกรดไขมันในอาหารแพะต่อ การย่อยได้ ของโกชนะ การผลิตแก็สมีเทนในแพะเนื้อเจาะกระเพาะ ใช้แพะเนื้อลูกผสมพื้นเมือง x แองโกล นูเบียน จำนวน 8 ตัว วางแผนงานทดลองแบบ 4 x 4 Latin squ are design (LSD) แบ่งกลุ่มทคถองเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ T1-กลุ่มควบคุม (ไม่เสริมน้ำมัน) 12- น้ำมันทานตะวัน 39, 173- น้ำมันปาถัม3%, และ T4- น้ำมันทานตะวัน 1.5% + น้ำมันปาลัม 1.59 ผลการทคลอง พบว่าปริมาณการกินได้ของแพะ มี ปริมาณการกินได้ของอาหารหยาบ และอาหารข้น ของวัตถุแห้ง ปริมาณการกินได้ต่อน้ำหนักตัว (เปอร์เซ็นต์น้ำหนักตัว) และปริมาณการกินได้ต่อน้ำนักตัว"ร ค่าความเป็นกรด-ต่าง ของแพะที่ได้รับ อาหารทั้ง 4 สูตรที่ชั่วโมงที่ 0, 2 และ 4 ค่าความเข้มข้นของแอมโมเนีย-ไนโครเจน (NH,N) ใน ของเหลวจากกระเพาะหมัก ความเข้มข้นของยุเรียในกระแสเลือด (BUN) จำนวนประชากรของ แบคที่รียในของเหลวกระเพาะรูเมน ไม่มีความแตกต่งกันทางสถิติ (P-0.05) การผลิตแก๊สมีเทน (CH.) ในชั่วโมงที่ 2 และ 4 หลังการให้อาหารพบว่ากลุ่มที่มีการเสริมน้ำมันมีค่าการผลิตแก๊สมีเทนต่ำ กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P:0.050) ที่ชั่วโมงที่ 2 หลังการให้อาหาร พบว่า โปรโตซัว ในรูเมนของแพะที่ได้รับอาหารที่เสริมไขมันของทุกกลุ่ม มีค่ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P0.05) การทตลองที่ 3 ใช้แพะเนื้อเพศผู้จำนวน 24 ตัว มีน้ำหนักเฉถี่ย 12+2.5 กิโลกรัม วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ บ่งกลุ่มทคลองเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ T!-กลุ่มควบคุม (ไม่เสริม น้ำมัน) 12- น้ำมันทานตะวัน 3%. 13- น้ำมันปาล์ม39., และ T4- น้ำมันทานคะวัน 1.5% + น้ำมัน ปาล์ม 1.5% พบว่า คุณภาพชาก ได้แก่ ซากอุ่น (hot carcass) ซากเย็น (cold carcass) และ เปอร์เซ็นต์ ซากตกแต่ง (dressing cacass)ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ไม่มีความแตกต่างกันทาง สถิติ (P:0.05) ผลของการเสริมน้ำมันพืนจากแหล่งที่แตกต่างกัน อองค์ประกอบทางเคมีของเนื้อ แพะส่วน Longissimus dorsi. Tricep brachi, และ Semimembranosus พบว่าไขมันในเนื้อทุกส่วนที่ วัด ของกลุ่มที่มีการเสริมไขมัน สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P 0.05) ในขณะที่กรด ไขมันชนิด C18:0 และ n6 พบว่า แพะที่ได้รับน้ำมันปาล์มมีด่าสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (P<0.05) มากกว่านั้น กรคไขมันชนิด C18:119, CLA, C22:2, C22:6n3 และ PUFA ของแพะใน กลุ่มที่เสริมน้ำมันทานตะวันมีคำสูงกว่าแพะในกลุ่มที่ได้รับน้ำมันปาล์ม และกลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P-0.05) การผลการทคลองในภาพรวมสามารถสรุปได้ว่าแพะในกลุ่มที่เสริมน้ำมันทุกประเภทสามารถ เพิ่มการย่อยได้ของไขมัน ลดการผลิตแก็สมีเทน ลดจำนวนโปรโตซัวในรูเมน โคยเฉพาะการเสริม น้ำมันทานตะวันสมารถปรับปรุงประสิทธิภาพการให้ผลผลิตและกรดไขมันที่เป็นประโยชน์ต่อ ผู้บริโภตได้ดีกว่าในกลุ่มอื่น
บทคัดย่อ (EN): The aim of this study was to investigate the efiects of difference types and proportions of fat in meat goat rations with respect to rumen fermentation, digestibility, methane gas production, productivity, and meat quality, meat fatty acid profiles. Three experiments were conducted. Experiment 1I, study the potential gas production from difierence types of fat and fatty acid sources. The results showed that the values of degradation a, b, c, a+b, gas volume (ml) and in vitro dry matter degradability (IVDMD) of all fat sources were not significant differences (P>0.05). Experiment 2, eight fitulated male meat goats (native x Anglo-Nubian) were used. The experiment was assigned in 4 x 4 Latin square design. There were four different dietary treatments: with different sources and proportion such as T1-control (no oils), T2=3% sunlower oil, T3= 3% palm oil and T4- 1.5% sunflower oil + 1.5% palm oil, respectively. The results showed that rumen pH at 0, 2 and 4 h-post feeding, ruminal ammonia nitrogen (NH,-N), blood urea nitrogen (BUN), amount nt of bacteria and amount of bacteria in the rumen at 4 hr-post feeding were not significant differences (P>0.05). Moreover, ruminal protozoa in the rumen at 4 hr-post feeding of goat fed with all fat sources and all proportions were lower (P0.05), however fat digestibility of goats fed with all types and proportions of fat were higher (P0.05). Chemical compositions of goat meat muscle Longissimus dorsi, Tricep brachi, and Semimembranosus in goats fed with all oil groups were higher (P<0.05) significantly than goat those fed the control. Fatty acids; C18:0 and n-6 of goats fed with palm oil were higher (P<0.05) significantly than goats fed with other groups. Moreover, fatty acids; C18:1n9, CLA, C22:2, C22:6n3 and PUFA of goat fed with sunflower oil were higher (P<0.05) signiticantly than goat those fed with palm oil and the control diet. It can be concluded from the results in this research that goats fed with all fat supplemented increased fat digestibility, decreased methane production and reduce ruminal protozoa. Espccially, goats fed with suntlower seed oil would be beneficial for meat goats in terms of productive performance and fatty acid profile in meat.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/292444
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของชนิดและระดับของกรดไขมันในอาหาร ต่อจุลินทรีย์ในรูเมนความสามารถในการย่อยได้ของโภชนะ การผลิตแก๊สมีเทน ประสิทธิภาพการให้ผลผลิต และคุณภาพเนื้อของแพะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2558
เอกสารแนบ 1
ผลงานบริการของศูนย์นวัตกรรมผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่ออุตสาหกรรม วว. โครงการวิจัยคัดเลือกจุลินทรีย์เพิ่มความอุดมสมบูรณ์และป้องกันโรคพืชในดินเพื่อเพิ่มผลผลิตพืช จุลินทรีย์ใน ……… ชาเย็น จุลินทรีย์ในน้ำดื่มบรรจุขวด วิถีชีวิตแบบสโลว์ฟูดส์… เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี การศึกษาการปรับเปลี่ยนอาหาร เพื่อเพิ่มปริมาณกรดลิโนลิอิคในเนื้อของแพะเนื้อ การแยกจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทางการแพทย์จากข้าวบูดเพื่อประโยชน์ในการนำกลับมาใช้ทางแพทย์แผนไทย ชนิดของไขมันที่เหมาะสมในอาหารปลาหมอ ประสิทธิภาพการผลิตแพะตามกิจกรรมศูนย์ผลิตและกระจายแพะพันธุ์ดี การศึกษาการผลิตอาหารสุนัข

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก