สืบค้นงานวิจัย
ภูมิปัญญาบูรณาการในการจัดการป่าชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : กรณีศึกษาป่าชุมชนโคกหินลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม
ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ - มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง: ภูมิปัญญาบูรณาการในการจัดการป่าชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : กรณีศึกษาป่าชุมชนโคกหินลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม
ชื่อเรื่อง (EN): Integral wisdom in Community forest Management for Sustainable Development : A Case Study of Khokhinlad Community Forest Muang District Mahasarakham Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาในครั้งนี้ มีวัดถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารวบรวมองค์ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนในการจัดการปัชุมชนไดกหินลาด 2)เพื่ อศึกษารูปแบบของการนำเอาองค์ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องนิมาบูรณาการข้ากับองค์ความรู้สมัยใหม่ในการจัดการป่าชุมชนไกลหินลาด 3) เพื่อศึกษาเงื่อนไขหรือกลไกที่สนับสนุนให้ชุมชน องค์ชุมขน และหน่วยงานรัฐนำเอาองค์ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องมิมาบูรณาการเข้ากับองค์ความรู้สมัยใหม่ในการจัดการป่า ชุมชนโดกหินลาด และ 4) เพื่ อศึกยาปัญหาและอุปสรรคในการนำเอาองค์ความรู้ที่ เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการเข้ากับองค์ความรู้สมัยใหม่ในการจัดการป้าชุมชนโดกหินลาด โดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อการพัฒบาทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต เครื่องบันทึกเสีย เครื่องบันทึกภาพ และแบบจดบันทึก ส่วนวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษาจากเอกสาร และศึกษา ภาคสนาม ใช้วิธีการสัมภายณ์แบบไม่เป็นทางการ การสัมภาษณ์เชิงลึก การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสนทนากลุ่มย่อย และเข้าร่วมสังกตกิจกรรมการปลูกป้ ผลการศึกษา พบว่า องค์ ความรู้ท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ ขุมชนและองค์กรชุมชนอนุรักษ์ปีนำมาใช้ในการจัดปาชุมขนโดกหินลาดนั้น ประกอบด้วย 1) องค์ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่า ดิน และน้ำที่ มีความ เชื่ อมไขสัมพันธ์กับ 2) องค์ความรู้กี่ยวกับการใช้ประ ไยชน์จากป้า และการคำนึงถึงขีดจำกัดในการใช้ประโยชน์จากป้า 3) องค์ความรู้ในการปลูกป่า 4) องค์ความรู้ในการจัดระบบพื้นที่เพื่อจัดตั ชุมชน ซึ่ งองค์ความรู้เหลนี้ ได้มีการสั่งสมสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่ ยู่คนอีกรุ่นหนึ่ งและองค์ความรู้เหล่านี้มีลักษณะสำคัญ งื่อ !) เป็นความรู้ที่ ถูกสร้างขี้จากระบบคิด ความเชื่ อเดิมของ ชุมชนจบกลายเป็นจารีต ประเพณีของชุมชนในการอนุรักษ์ป่า แฝงด้วยความเชื่ อทางศาสนา 2)เป็นความรู้ที่ คำนึงถึงผลประไยชน์สนรวมมากกว่าระโยชน์ส่วนตน 3) เป็นความรู้ที่มุ่งเน้นการ รักษาระบบนิเวสอย่างสมดุล และ 41) เป็นความรู้ที่ อยู่บนพื้นฐานของการสร้างการมีส่วนร่วมของ คนในชุมชน ส่วนรูปแบบของการบูรณาการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับความรู้สมัยใหม่ในการ จัดการป้าชุมชนโกกหินลาด พบว่า มี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการบูรณาการผ่านกิจกรรมที่ จัดทำขึ้นอย่างต่อเนื่องและรูปแบบการบูรฌาการจนการจัดตั้งองค์กรอนุรักษ์ป่าที่เป็นระบบ เน้นการมืส่วนร่วมเป็นสำคัญ ซึ่ งรูปแบบทั้งสองดังกล่าวนี้ เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขจำเป็นระดับโครงสร้างและระดับบริบทพื้นที่ โดยเงื่อนไขระดับโครงสร้างที่ นำไปสู่การบูรณาการภูมิปัญญา ประกอบด้วย 1) ความล้มเหลวในการจัดการป่าของรัฐ ที่ มุ่งเน้นความรู้วิทยาศาสตร์ป่าไม้เพียงอย่างเดียว ทำให้ พื้นที่ ป่าลดลง และคนในชุมชนท้องถิ่นได้รับผลกระทบจากการใช้ประ โยชน์ในการดำรงชีพ 2) การยอมรับสิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่ เริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และ 3) นโขบายกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทหน้าที่ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับชุมชนท้องถิ่น ส่วนเงื่อนไขระดับบริบทพื้นที่ ประกอบด้วย 1) สถานการณ์ชุมชนจากความขัดแย้งกลายเป็นความร่วมมือ และ 2) ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน จึงได้ให้ความสำคัญกับความรู้ท้องถิ่นดวบคู่กับความรู้สมัยใหม่ ส่วนปัญหาอุปสรรคในการบูรณาการภูมิปัญญา ในระดับโครงสร้าง พบว่า 1) นโยบายกับการปฏิบัติยังไม่สอดคล้องกัน 2) ความรู้วิทยาศาสตร์ยังคงมีอิทธิพลครอบงำ และ ได้รับการขอมรับ อย่างกว้างขวาง ส่วนในระดับบริบทพื้นที่ พบว่า 1) ปัญหาขาดความต่อเนื่ องในการสืบทอดภูมิ ปัญญาท้องถิ่น 2) นโขบาขผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ และฟื้นฟูป่าอย่างจริงจัง ขึ้นอยู่กับผู้บริหารแต่ละน และ 3) นโขบายรัฐจัดแบ่งโซบดูแลป้ ไดยใช้ พื้นที่ หบ้านเป็นเกณฑ์ ทำให้ขาดความเป็นเอกภาพในการจัดการป่า เนื่องจาป่าชุมชนโคกหิน ลาดครอบคลุมพื้นที่ 20 หมู่บ้าน ร ตำบล 2 อำเภอ เกิดความลักลั่นในการจัดการ
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ภูมิปัญญาบูรณาการในการจัดการป่าชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : กรณีศึกษาป่าชุมชนโคกหินลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
30 กันยายน 2551
การพัฒนาดัชนีชี้วัดความยั่งยืนในการจัดการป่าชุมชนของชุมชนในภาคเหนือตอนบน การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าชุมชน: กรณีศึกษา บ้านทาป่าเปา ตำบลทาปลาดุก อำเภอ แม่ทา จังหวัดลำพูน ยุทธศาสตร์การพัฒนาเครือข่ายองค์กรชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าชุมชนจังหวัดมหาสารคาม การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การศึกษาความหลากหลายของราแมลงบริเวณป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย สังคมพืชสมุนไพรในป่าชุมชน อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว รูปแบบการตลาดที่เหมาะสมในการจำแนกปุ๋ยหมักของชุมชน แนวทางการพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ศักยภาพการจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวในจังหวัดสกลนคร การพัฒนาการมีส่วนร่วมของสตรีในการเสริมสร้างผลิตภัณฑ์พื้นบ้านเพื่อตอบสนองการท่องเที่ยงในชุมชน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก